|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
45,0004,001,แตกไซร้ ถ้าว่า เขามาสู่ความเป็นมนุษย์ เกิดในที่ใด ๆ ในภายหลัง ก็
|
|
45,0004,002,จะเป็นผู้มีสกุลสูงในที่นั้น ๆ มาณพ ข้อที่บุคคลเป็นผู้ไม่เย่อหยิ่ง ไม่ถือ
|
|
45,0004,003,ตัว ฯ ล ฯ ย่อมบูชา บุคคลผู้ที่ควรบูชา เป็นปฏิปทาอันเป็นไปเพื่อมี
|
|
45,0004,004,"สกุลสูง "" ดังนี้."
|
|
45,0004,005,บาลีจูฬกัมมวิภังคสูตร ในจตุตถวรรค อุปริปัณณาสก์.
|
|
45,0004,006,"[๒๖๓] นัยอันมาในอรรถ<SUP>๑</SUP>กถาจูฬกัมมวิภังคสูตรนั้นว่า "" บทว่า"
|
|
45,0004,007,<B>อภิวาเทตพฺพํ<B> คือ บุคคลผู้ควรแก่การอภิวาท ได้แก่ พระพุทธเจ้า
|
|
45,0004,008,พระปัจเจกพุทธะ หรือพระอริยสาวก. แม้ในบุคคลที่ควรลุกรับเป็นต้น
|
|
45,0004,009,ก็นัยนี้เหมือนกัน.
|
|
45,0004,010,บทว่า <B>สมตฺเตน</B> คือ อันตนให้บริบูรณ์แล้ว.
|
|
45,0004,011,บทว่า <B>สมาทินฺเนน</B> คือ อันตนถือเอาแล้ว คือลูบคลำแล้ว.
|
|
45,0004,012,บทว่า <B>ยทิทํ</B> ความว่า กรรมคือความเป็นผู้กระด้างมีความถือ
|
|
45,0004,013,"ตัวจัด นี้ใด ปฏิปทานี่. """
|
|
45,0004,014,"ฎีกาจูฬกัมมวิภังคสูตรนั้นว่า "" บทว่า <B>สมตฺเตน</B> คือ อันอาจ"
|
|
45,0004,015,ได้แก่สามารถ. อธิบายว่า เพราะกรรมอันตนทำ คือสั่งสมไว้แล้ว โดย
|
|
45,0004,016,อาการที่กรรมนั้นสามารถในอันจะให้ผล. ก็กรรมเช่นนั้น ชื่อว่าไม่
|
|
45,0004,017,บกพร่องโดยกิจของตน เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า
|
|
45,0004,018,""" อันตนให้บริบูรณ์ "" ดังนี้ การถือเอาคือการลูบคลำด้วยตัณหาและทิฏฐิ"
|
|
45,0004,019,ชื่อว่า สมาทาน ในบทว่า <B>สมาทินฺเนน</B> นี้ ฉะนั้นพระอรรถกถาจารย์
|
|
45,0004,020,"จึงกล่าวคำว่า "" อันตนถือเอาแล้ว คือลูบคลำแล้ว. "" ที่ชื่อว่า ปฏิปทา"
|
|
45,0004,021,
|
|
45,0004,022,๑. ป. สู. ๓/๖๔๘.
|
|
|