initial upload
Browse filesThis view is limited to 50 files because it contains too many changes.
See raw diff
- 01/010001.csv +22 -0
- 01/010002.csv +22 -0
- 01/010003.csv +22 -0
- 01/010004.csv +17 -0
- 01/010005.csv +20 -0
- 01/010006.csv +22 -0
- 01/010007.csv +21 -0
- 01/010008.csv +22 -0
- 01/010009.csv +22 -0
- 01/010010.csv +22 -0
- 01/010011.csv +22 -0
- 01/010012.csv +22 -0
- 01/010013.csv +21 -0
- 01/010014.csv +22 -0
- 01/010015.csv +22 -0
- 01/010016.csv +5 -0
- 01/010017.csv +21 -0
- 01/010018.csv +24 -0
- 01/010019.csv +22 -0
- 01/010020.csv +22 -0
- 01/010021.csv +21 -0
- 01/010022.csv +22 -0
- 01/010023.csv +17 -0
- 01/010024.csv +21 -0
- 01/010025.csv +18 -0
- 01/010026.csv +16 -0
- 01/010027.csv +21 -0
- 01/010028.csv +19 -0
- 02/020029.csv +20 -0
- 02/020030.csv +19 -0
- 02/020031.csv +22 -0
- 02/020032.csv +22 -0
- 02/020033.csv +22 -0
- 02/020034.csv +19 -0
- 02/020035.csv +20 -0
- 02/020036.csv +22 -0
- 02/020037.csv +19 -0
- 02/020038.csv +22 -0
- 02/020039.csv +15 -0
- 02/020040.csv +23 -0
- 02/020041.csv +22 -0
- 02/020042.csv +20 -0
- 02/020043.csv +21 -0
- 02/020044.csv +21 -0
- 02/020045.csv +22 -0
- 02/020046.csv +22 -0
- 02/020047.csv +22 -0
- 02/020048.csv +20 -0
- 02/020049.csv +23 -0
- 02/020050.csv +23 -0
01/010001.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0001,001,คำนำ
|
3 |
+
01,0001,002,วิธีแสดงไวยากรณ์ของตันติภาษา [ ภาษามีแบบแผน ] นั้น
|
4 |
+
01,0001,003,นักปราชญ์ทั้งหลายได้จัดไว้เป็นหมวดหมู่ละม้ายคล้ายคลึงกัน จนให้
|
5 |
+
01,0001,004,สันนิษฐานได้ว่า ภาษาเหล่านี้คงจะมีอริยกภาษาเป็นมูลเดิม จะขอ
|
6 |
+
01,0001,005,กล่าวย่อ ๆ แต่ภาษาที่ข้าพเจ้าได้ทราบอยู่บ้างเล็กน้อย คือบาลีภาษา ๑
|
7 |
+
01,0001,006,สันสกฤตภาษา ๑ อังกฤษภาษา ๑ ในภาษาทั้ง ๓ นั้น ในบาลี
|
8 |
+
01,0001,007,ภาษา นักปราชญ์ท่านจัดไวยากรณ์เป็นหมวด ๆ กัน ๙ หมวด ดังนี้
|
9 |
+
01,0001,008,อักขรวิธี แสดงอักษรพร้อมทั้งฐานกรณ์เป็นต้น ๑ สนธิ ต่ออักษร
|
10 |
+
01,0001,009,"ที่อยู่ในคำอื่น ให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน ๑ นาม แจกชื่อคน, สัตว์,"
|
11 |
+
01,0001,010,"ที่, สิ่งของต่าง ๆ, สัพพนาม แจกศัพท์ ที่สำหรับใช้แทนนามที่"
|
12 |
+
01,0001,011,ออกชื่อแล้ว เพื่อจะได้ไม้เรียกซ้ำให้รกโสต ๒ อย่างนี้พร้อมทั้งลิงคะ
|
13 |
+
01,0001,012,วจนะ วิภัตติ ๑ สมาสย่อนามตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป ให้เป็นบทเดียวกัน ๑
|
14 |
+
01,0001,013,ตัทธิต ใช้ปัจจัยแทนศัพท์ให้น้อยลง มีเนื้อความได้เต็มที่ ๑ อาขยาต
|
15 |
+
01,0001,014,แจกกิริยาศัพท์ พร้อม วจนะ บุรุษ วิภัตติ กาล บอก กัตตุ
|
16 |
+
01,0001,015,กรรม และภาพ ๑ กฤต ใช้ปัจจัยเป็นเครื่องกำหนดรู้สาธนะหรือ
|
17 |
+
01,0001,016,กาล ๑ อุณณาทิ มีวิธีใช้ปัจจัยคล้ายกฤต แต่มักเป็นปัจเจกปัจจัย
|
18 |
+
01,0001,017,โดยมาก ๑ การก แสดงลักษณะของคำพูด ๑ ถ้านับรวมทั้ง
|
19 |
+
01,0001,018,ฉันทลักษณะที่ท่านจัดไว้ เป็นหมวดหนึ่งต่างหาก มิได้สงเคราะห์เข้า
|
20 |
+
01,0001,019,ในมูลไวยากรณ์ก็เป็น ๑๐ หมวด.
|
21 |
+
01,0001,020,ในสันสกฤตภาษา ก็ไม่สู้จะต่างจากบาลีภาษา ต่างกันเล็ก
|
22 |
+
01,0001,021,น้อย ในสันสกฤต มีวจนะเป็น ๓ คือ เอกวจนะ คำพูดถึงคง หรือ
|
01/010002.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0002,001,ของสิ่งเดียว ๑ ทวิวจนะ คำพูดถึงคนหรือของ ๒ สิ่ง ๑ พหุวจนะ
|
3 |
+
01,0002,002,คำพูดถึงคนหรือของมาก ๑. ส่วนในบาลีภาษามีวจนะแต่ ๒ คือ
|
4 |
+
01,0002,003,เอกวจนะ ๑ พหุวจนะ ๑ และในภาษาสันสกฤตมีวิภัตติอาขยาต ๑๐
|
5 |
+
01,0002,004,หมู่ ในบาลีภาษามีแต่ ๘ หมู่เป็นต้น. ในอังกฤษภาษา นักปราชญ์ชาว
|
6 |
+
01,0002,005,ประเทศนั้น แบ่งไวยากรณ์ ( GRAMMAR ) ของตน เป็น ๔ ส่วน
|
7 |
+
01,0002,006,เรียกชื่อว่า ORTHOGRAPHY สอนให้ว่าและเขียนถ้อยคำนั้น ๆ
|
8 |
+
01,0002,007,ให้ถูกต้องตามตัวอักษรเหมือนกับอักขรวิธีในบาลีภาษา ๑ ETYMO-
|
9 |
+
01,0002,008,LOGY แสดงประเภทแห่งถ้อยคำนั้น ๆ ที่ออกจากต้นเดิมของตน ๆ
|
10 |
+
01,0002,009,เหมือนกับนามเป็นต้นในบาลีภาษา ๑ SYNTAX เรียบเรียงมาตรา
|
11 |
+
01,0002,010,แห่งถ้อยคำนั้น ๆ ที่กล่าวมาในเอติโมโลยี ส่วนที่ ๑ แล้ว ให้เป็นประโยค
|
12 |
+
01,0002,011,เหมือนกับการกในบาลีภาษา ๑ PROSODY แสดงวิธีอ่านเสียง
|
13 |
+
01,0002,012,หนัก เบา ยาว สั้น ดัง ค่อย หยุดตามระยะที่สมควร และวิธีแต่งโคลง
|
14 |
+
01,0002,013,กลอน เหมือนกับฉันทลักษณะในบาลีภาษา ๑ แต่ในเอติโมโลยีส่วน
|
15 |
+
01,0002,014,ที่ ๒ นั้น แบ่งออกเป็นวจนวิภาค ๙ ส่วน คือ NOUN คำพูดที่เป็น
|
16 |
+
01,0002,015,"ชื่อคน , ที่, และสิ่งของ ตรงกันกับนามศัพท์ ๑ ADJECTIVE คำพูด "
|
17 |
+
01,0002,016,สำหรับเพิ่มเข้ากับนามศัพท์ เพื่อจะแสดงความดีหรือชั่วของนามศัพท์นั้น
|
18 |
+
01,0002,017,ตรงกับคุณศัพท์หรือบทวิเศษ ๑ ARTICLE คำพูดสำหรับนำหน้า
|
19 |
+
01,0002,018,นามศัพท์ เพื่อเป็นเครื่องหมายนามศัพท์ ที่คนพูดและคนเขียน
|
20 |
+
01,0002,019,นิยมและไม่นิยม อาการคล้ายกับ เอก ศัพท์ ต ศัพท์ ที่สำเร็จรูป
|
21 |
+
01,0002,020,เป็น เอโก เป็น โส แต่จะว่าเหมือนแท้ก็ไม่ได้ เพราะอาติกล A
|
22 |
+
01,0002,021,หรือ AN ท่านไม่ได้สงเคราะห์เข้าในสังขยา มีคำใช้ในสังขยาที่
|
01/010003.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0003,001,แปลว่าหนึ่งต่างหาก ส่วนเอกศัพท์นี้ สงเคราะห์เข้าในสังขยา และ
|
3 |
+
01,0003,002,อาติกล THE เล่า ก็ไม่เหมือน ต ศัพท์แท้ เพราะมีคำอื่นที่ใช้เหมือน
|
4 |
+
01,0003,003,ต ศัพท์ อนึ่ง เอก ศัพท์และ ต ศัพท์นั้น เป็นศัพท์นาม อาติกลนี้
|
5 |
+
01,0003,004,ท่านมิได้สงเคราะห์เข้าในศัพท์นาม แต่นักปราชญ์ทั้งหลายชั้นหลัง ๆ
|
6 |
+
01,0003,005,พิจารณาเห็นว่า อาติกลนี้ ไม่ต่างอะไรกับคุณศัพท์ [ คำพูดที่ ๒ ]
|
7 |
+
01,0003,006,ไม่ควรจะยกเป็นแผนกหนึ่งต่างหาก จึงสงเคราะห์เข้าเสียในคุณศัพท์
|
8 |
+
01,0003,007,"คงเหลือวจนวิภาคแต่ ๘ ส่วนเท่านั้น ๑, PRONOUN คำพูดสำหรับใช้"
|
9 |
+
01,0003,008,แทนนามศัพท์ เพื่อจะได้ไม่ซึ่ง ๆ ซาก ๆ อันเป็นทีรำคาญโสต ตรงกัน
|
10 |
+
01,0003,009,"กับสัพพนาม ๑, VERB กิริยาศัพท์พร้อมวจนะ ( NUMBER ),บุรุษ"
|
11 |
+
01,0003,010,( PERSON ) วิภัตติ ( MOOD ) กาล ( TENSE ) จัดเป็นสกัมมธาตุ
|
12 |
+
01,0003,011,กัตตุกิริยา ( ACTIVE VERB ) กัมมกิริยา ( PASSIVE VERB )
|
13 |
+
01,0003,012,อกัมมธาตุ ( NEUTER VEREB ) อัพยยกิริยา ( INFINITIVE )
|
14 |
+
01,0003,013,"กฤตกิริยา ( PARTICIPLE ) ๑ , ADVERB คำพูดสำหรับเพิ่มเข้ากับ"
|
15 |
+
01,0003,014,กิริยาศัพท์และคุณศัพท์ บางทีกับแอดเวิบเอง เพื่อจะแสดงศัพท์เหล่านั้น
|
16 |
+
01,0003,015,ว่าเป็นอย่างไร ดีหรือชั่ว เร็วหรือช้า เป็นต้น เหมือนคุณศัพท์
|
17 |
+
01,0003,016,สำหรับเพิ่มเข้ากับนามศัพท์ฉะนั้น ตรงกับกิริยาวิเศษ และอัพยยศัพท์
|
18 |
+
01,0003,017,"และอุปสัค ๑, PREPOSITION เป็นวิภัตติสำหรับวางหน้านามศัพท์"
|
19 |
+
01,0003,018,หลังกิริยาศัพท์ด้วยกัน เพื่อจะแสดงให้ศัพท์นั้นมีเนื้อความ
|
20 |
+
01,0003,019,เนื่องกัน แสดงอุทาหรณ์ในภาษาสยามเหมือนหนึ่งว่าศัพท์คือ เสื้อคน
|
21 |
+
01,0003,020,มีความเป็น ๒ อย่าง ครั้นลง เปรโปสิชัน คือ ของ หน้านามศัพท์
|
22 |
+
01,0003,021,"คือ คน ก็ได้ความเป็นอันเดียวกันว่า "" เสื้อของคน "" จะเทียบ"
|
01/010004.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,17 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0004,001,ด้วยบาลีภาษา หรือ สันสกฤตภาษา ก็ไม่ชัดความ เพราะภาษาทั้ง ๒
|
3 |
+
01,0004,002,ไม่ใช้เปรโปสิชันตรง เหมือนภาษาอังกฤษและภาษาสยามของเรา
|
4 |
+
01,0004,003,ใช้เปลี่ยนที่สุดนามศัพท์นั้น ๆ เอง ตามความที่จะต้องลงเปรโปสิชัน
|
5 |
+
01,0004,004,เหมือนภาษาลตินและภาษาคริก แต่ข้าพเจ้าเห็นหนังสือไวยากรณ์บาลี
|
6 |
+
01,0004,005,และสันสกฤต ที่นักปราชญ์ชาวยุโรปแต่งไว้ ท่านแสดงเปรโปสิชันว่า
|
7 |
+
01,0004,006,เป็นอุปสัค ข้าพเจ้ายังจับเหตุไม่ได้ เพราะเห็นวิธีที่ใช้ เปรโปสิชัน ใน
|
8 |
+
01,0004,007,ภาษาอังกฤษอย่างหนึ่ง ใช้วิธีอุปสัคในภาษาบาลีอย่างหนึ่ง ไม่เหมือน
|
9 |
+
01,0004,008,กัน ถ้าจะเทียบแล้ว เห็นว่าอุปสัคคล้ายแอดเวิบ คือกิริยาวิเศษ
|
10 |
+
01,0004,009,เพราะนำหน้ากิริยา เพื่อจะแสดงกิริยานั้นให้ดีขึ้นหรือให้ชั่วลง จะเห็น
|
11 |
+
01,0004,010,"ง่ายกว่า ๑, CONJUNCTION คำพูดสำหรับต่อศัพท์หรือประโยคให้ "
|
12 |
+
01,0004,011,เนื่องกัน ตรงกับนิบาตบางพวกมี จ และ วา เป็นต้น ที่นักปราชญ์
|
13 |
+
01,0004,012,"ชาวยุโรปให้ชื่อว่า PARTICLE OR INDECLINABLE ๑, "
|
14 |
+
01,0004,013,INTERJECTION คำพูดสำหรับแสดงความอัศจรรย์หรือความตกใจ
|
15 |
+
01,0004,014,ตรงกันกับนิบาตบางพวกมี อโห เป็นต้น.
|
16 |
+
01,0004,015,เอติโมโลยี ส่วนที่ ๒ ท่านแจกออกไปเป็น ๙ อย่างบ้าง
|
17 |
+
01,0004,016,๘ อย่างบ้าง ดังนี้.
|
01/010005.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0005,001,บาลีไวยากรณ์
|
3 |
+
01,0005,002,บาลีไวยากรณ์นี้แบ่งเป็น ๔ ภาคก่อน คือ อักขรวิธี ๑ วจีวิภาค ๑
|
4 |
+
01,0005,003,วากยสัมพันธ์ ๑ ฉันทลักษณะ ๑.
|
5 |
+
01,0005,004,[ ๑ ] อักขรวิธี ว่าด้วยอักษร จัดเป็น ๒ คือ สมัญญาภิธาน
|
6 |
+
01,0005,005,แสดงชื่ออักษร ที่เป็นสระ และพยัญชนะ พร้อมทั้งฐานกรณ์ ๑
|
7 |
+
01,0005,006,สนธิ ต่ออักษรที่อยู่ในคำอื่น ให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน.
|
8 |
+
01,0005,007,[ ๒ ] วจีวิภาค แบ่งคำพูดออกเป็น ๖ ส่วน คือ นาม ๑
|
9 |
+
01,0005,008,อัพยยศัพท์ ๑ สมาส ๑ ตัทธิต ๑ อาขยาต ๑ กฤต ๑.
|
10 |
+
01,0005,009,[ ๓ ] วากยสัมพันธ์ ว่าด้วยการก และประพันธ์ผูกคำพูดที่
|
11 |
+
01,0005,010,แบ่งไว้ในวจีวิภาค ให้เข้าเป็นประโยคอันเดียวกัน.
|
12 |
+
01,0005,011,[ ๔ ] ฉันทลักษณะ แสดงวิธีแต่งฉันท์ คือคาถาที่เป็น
|
13 |
+
01,0005,012,วรรณพฤทธิ์และมาตราพฤทธิ์.
|
14 |
+
01,0005,013,---------------------
|
15 |
+
01,0005,014,อักขรวิธี ภาคที่ ๑
|
16 |
+
01,0005,015,สมัญญาภิธาน
|
17 |
+
01,0005,016,[ ๑ ] เนื้อความของถ้อยคำทั้งปวง ต้องหมายรู้กันด้วยอักขระ
|
18 |
+
01,0005,017,เมื่ออักขระวิบัติแล้ว ก็เข้าใจเนื้อความยาก เพราะฉะนั้น ความเป็น
|
19 |
+
01,0005,018,ผู้ฉลาดในอักขระ จึงมีอุปการะมาก คำว่าอักขระ ๆ นั้น ว่าตามที่
|
20 |
+
01,0005,019,นักปราชญ์ท่านประสงค์ ก็เป็น ๒ อย่าง เป็นเสียงอย่าง ๑ เป็น
|
01/010006.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0006,001,หนังสืออย่าง ๑ มีเนื้อความเป็นอันเดียวกัน เสียงก็ดี ตัวหนังสือ
|
3 |
+
01,0006,002,ก็ดี ที่เป็นของชาติใด ภาษาใด ก็พอใช้ได้ครบสำเนียง ในชาตินั้น
|
4 |
+
01,0006,003,ภาษานั้น ไม่บกพร่อง ถ้าจะกล่าวหรือเขียนสักเท่าใด ๆ ก็คงใช้
|
5 |
+
01,0006,004,เสียง หรือตัวหนังสืออยู่เท่านั้นเอง เสียงและตัวหนังสือนั้น มิได้
|
6 |
+
01,0006,005,สิ้นไปเลย และไม่เป็นของแข็ง ที่จะใช้ในภาษานั้นยาก เหมือน
|
7 |
+
01,0006,006,หนึ่งเสียงและตัวหนังสือของชาติอื่น จะเอามาใช้ในภาษาอื่นจากภาษา
|
8 |
+
01,0006,007,นั้นยาก เป็นของชาติไหนภาษา ก็ใช้ได้พอสมควรแก่ชาตินั้น
|
9 |
+
01,0006,008,ภาษานั้น ไม่ขัดข้อง เพราะฉะนั้น เสียงก็ดี ตัวหนังสือก็ดี ชื่อว่า
|
10 |
+
01,0006,009,อักขระ แปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑.
|
11 |
+
01,0006,010,[ ๒ ] อักขระที่ใช้ในบาลีภาษานั้น ๔๑ ตัว คือ อ อา อิ อี
|
12 |
+
01,0006,011,"อุ อู เอ โอ ๘ ตัวนี้ชื่อสระ, ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ ,"
|
13 |
+
01,0006,012,"ฏ ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล"
|
14 |
+
01,0006,013,ว ส ห ฬ ํ ๓๓ ตัวนี้ชื่อพยัญชนะ.
|
15 |
+
01,0006,014,[ ๓ ] ในอักขระ ๔๑ ตัวนั้น อักขระเบื้องต้น ๘ ตัว ตั้งแต่ อ
|
16 |
+
01,0006,015,จนถึง โอ ชื่อสระ ออกเสียงได้ตามลำพังตนเอง และทำพยัญชนะ
|
17 |
+
01,0006,016,"ให้ออกเสียงได้, สระ ๘ ตัวนี้ ชื่อนิสสัย เป็นที่อาศัยของพยัญชนะ"
|
18 |
+
01,0006,017,บรรดาพยัญชนะ ต้องอาศัยสระ จึงออกเสียงได้ ในสระ ๘ ตัวนั้น
|
19 |
+
01,0006,018,สระมีมาตราเบา ๓ ตัว คือ อ อิ อุ ชื่อ รัสสะ มีเสียงสั้น เหมือน
|
20 |
+
01,0006,019,"คำว่า อติ ครุ, สระอีก ๕ ตัว อื่นจากรัสสะ ๓ คือ อา อี อู เอ โอ"
|
21 |
+
01,0006,020,"ชื่อทีฆะ มีเสียงยาว เหมือนคำว่า ภาคี วธู เสโข เป็นต้น, แต่ เอ โอ"
|
22 |
+
01,0006,021,ที่มีพยัญชนะสังโยค คือซ้อมกันอยู่เบื้องหลังท่านกล่าวว่า เป็นรัสสะ
|
01/010007.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0007,001,"เหมือนคำว่า เสยฺโย โสตฺถิ เป็นต้น, สระที่เป็นทีฆะล้วน และสระ"
|
3 |
+
01,0007,002,ที่เป็นรัสสะมีพยัญชนะสังโยค และนิคคหิตอยู่เบื้องหลัง ชื่อครุ มี
|
4 |
+
01,0007,003,เสียงหนัก เหมือนคำว่า ภูปาโล เอสี มนุสฺสินฺโท โกเสยฺยํ
|
5 |
+
01,0007,004,"เป็นต้น, สระที่เป็นรัสสะล้วน ไม่มีพยัญชนะสังโยค และนิคคหิตอยู่"
|
6 |
+
01,0007,005,เบื้องหลัง ชื่อลหุ มีเสียงเบา เหมือนคำว่า ปติ มุนิ เป็นต้น. สระนั้น
|
7 |
+
01,0007,006,"จัดเป็นคู่ได้ ๓ คู่ อ อา เรียกว่า อวณฺโณ, อิ อี เรียกว่า อิวณฺโณ,"
|
8 |
+
01,0007,007,"อุ อู เรียกว่า อุวณฺโณ, เอ โอ ๒ ตัวนี้ เป็นสังยุตตสระ"
|
9 |
+
01,0007,008,ประกอบเสียงสระ ๒ ตัวเป็นเสียงเดียวกัน ตรงกับคำอังกฤษเรียกว่า
|
10 |
+
01,0007,009,"DIPHTHONG อ กับ อิ ผสมกันเป็น เอ, อ กับ อุ ผสมกัน"
|
11 |
+
01,0007,010,"เป็น โอ, เพราะฉะนั้น สระ ๒ ตัวนี้ จึงเกิดใน ๒ ฐานตามที่แสดงไว้"
|
12 |
+
01,0007,011,ข้างหน้า [ ๖ ].
|
13 |
+
01,0007,012,พยัญชนะ
|
14 |
+
01,0007,013,[ ๖ ] อักขระที่เหลือจากสระนั้น ๓๓ ตัว มี ก เป็นต้น มีนิคคหิต
|
15 |
+
01,0007,014,เป็นที่สุด ชื่อพยัญชนะ คำว่าพยัญชนะนั้น แปลว่า ทำเนื้อความให้
|
16 |
+
01,0007,015,ปรากฏ อักขระเหล่านี้เป็นนิสสิต ต้องอาศัยสระจึงออกเสียง
|
17 |
+
01,0007,016,ได้ก็จริงอยู่ ถึงกระนั้นก็ทำเนื้อความให้ปรากฏชัด จนถึงเข้าใจ
|
18 |
+
01,0007,017,ความได้ แต่ลำพังสระเอง แม้ถึงออกเสียงได้ ถ้าพยัญชนะไม่
|
19 |
+
01,0007,018,อาศัยแล้ว ก็จะมีเสียงเหมือนกันไป แสดงเนื้อความไม่ชัด ยากที่
|
20 |
+
01,0007,019,"จะสังเกตได้ เหมือนหนึ่ง จะถามว่า "" ไปไหนมา "" ถ้าพยัญชนะ"
|
21 |
+
01,0007,020,ไม่อาศัยแล้ว สำเนียงก็จะเป็นตัว อ เป็นอย่างเดียวกันไปหมดว่า
|
01/010008.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0008,001,""" ไอ ไอ๋ อา "" ดังนี้ ต่อพยัญชนะเข้าอาศัย จึงจะออกเสียงปรากฏ"
|
3 |
+
01,0008,002,"ชัดว่า "" ไปไหนมา "" ดังนี้."
|
4 |
+
01,0008,003,"พยัญชนะ ๓๓ ตัวนี้ จัดเป็น ๒ พวก วรรค ๑, อวรรค ๑,"
|
5 |
+
01,0008,004,วรรคจัดเป็น ๕
|
6 |
+
01,0008,005,ก ข ค ฆ ง ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ก วรรค
|
7 |
+
01,0008,006,จ ฉ ช ฌ ๕ ตัวนี้ เรียกว่า จ วรรค
|
8 |
+
01,0008,007,ฏ ฆ ฒ น ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ฏ วรรค
|
9 |
+
01,0008,008,ต ถ ท ธ น ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ต วรรค
|
10 |
+
01,0008,009,ป ผ พ ภ ม ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ป วรรค
|
11 |
+
01,0008,010,พยัญชนะ ๒๕ ตัวนี้เป็นพวก ๆ กันตามฐานกรณ์ที่เกิด ซึ่งจะว่าต่อไป
|
12 |
+
01,0008,011,"ข้างหน้า จึงชื่อวรรค, พยัญชนะ ๘ ตัวนี้ คือ ย ร ล ว ส ห ฬ ํ"
|
13 |
+
01,0008,012,เรียกว่า อวรรค เพราะไม่เป็นพวกเป็นหมู่กัน ตามฐานกรณ์ที่เกิด.
|
14 |
+
01,0008,013,"[ ๕ ] พยัญชนะ คือ ํ เรียกว่านิคคหิต ตามสาสนโวหาร,"
|
15 |
+
01,0008,014,"เรียกว่า อนุสาร ตามคัมภีร์ศัพทศาสตร์, มีเนื้อความเป็นอันเดียว"
|
16 |
+
01,0008,015,"กัน, นิคคหิต แปลว่า กดสระ หรือ กรณ์ คือ อวัยวะที่ทำเสียง เวลา"
|
17 |
+
01,0008,016,เมื่อจะว่าไม่ต้องอ้าปากเกินกว่าปรกติ เหมือนว่าทีฆสระ.
|
18 |
+
01,0008,017,อนุสาร แปลว่า ไปตามสระ คือพยัญชนะตัวนี้ ต้องไปตาม
|
19 |
+
01,0008,018,"หลังสระคือ อ อิ อุ เสมอ เหมือนคำว่า อหํ เสตุํ อกาสึ เป็นต้น,"
|
20 |
+
01,0008,019,ถ้าไม่มีสระ ก็ไม่มีที่อาศัย ท่านเปรียบไว้ว่า นิคคหิตอาศัยสระนั้น
|
21 |
+
01,0008,020,เหมือนนกจับต้นไม้ ถ้าต้นไม้เป็นต้น ซึ่งเป็นที่จับไม่มีแล้ว นกก็จับ
|
22 |
+
01,0008,021,ไม่ได้ฉะนั้น สำเนียงสระที่นิคคหิตเข้าอาศัย จะแสดงไว้ข้างหน้า [ ๑๐ ]
|
01/010009.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0009,001,ฐานกรณ์ของอักขระ
|
3 |
+
01,0009,002,[ ๖ ] ฐานกรณ์เป็นต้นของอักขระ นักปราชญ์ท่านแสดงใน
|
4 |
+
01,0009,003,คัมภีร์ศัพทศาสตร์ ย่อบ้าง พิสดารบ้าง ครั้นข้าพเจ้าจะนำมาแสดงใน
|
5 |
+
01,0009,004,ที่นี้ให้สิ้นเชิง ก็เห็นว่าจะพาให้ผู้แรกศึกษาฟั่นเฝือนักไป จะแสดง
|
6 |
+
01,0009,005,พอสมควร.
|
7 |
+
01,0009,006,"ฐานที่ตั้งที่เกิดของอักขระมี ๖ คือ กณฺโ คอ, ตาลุ เพดาน,"
|
8 |
+
01,0009,007,"มุทฺธา ศีรษะ ก็ว่า ปุ่มเหงือก ก็ว่า, ทนฺโต ฟัน, โอฏฺโ ริม-"
|
9 |
+
01,0009,008,"ฝีปาก, นาสิกา จมูก. อักขระบางเหล่าเกิดในฐานเดียว บางเหล่า"
|
10 |
+
01,0009,009,"เกิดใน ๒ ฐาน, อ อา, ก ข ค ฆ ง, ห, ๘ ตัวนี้เกิดในคอ"
|
11 |
+
01,0009,010,"เรียกว่า กณฺชา, อิ อี, จ ฉ ช ฌ , ย, ๗ ตัวนี้เกิดที่เพดาน"
|
12 |
+
01,0009,011,"เรียกว่า ตาลุชา, ฏ ฑ ฒ ณ, ร ฬ, ๗ ตัวนี้เกิดในศีรษะก็ว่า"
|
13 |
+
01,0009,012,"ที่ปุ่มเหงือกก็ว่า เรียกว่า มุทฺธชา, ต ถ ท ธ น, ล ส, ๗ ตัวนี้เกิด"
|
14 |
+
01,0009,013,"ที่ฟั่น เรียกว่า ทนฺตชา, อุ อู, ป ผ พ ภ ม, ๗ ตัวนี้เกิดที่ริมฝีปาก"
|
15 |
+
01,0009,014,"เรียกว่า โอฏฺชา, นิคคหิตเกิดในจมูก เรียกว่า นาสิกฏฺานชา,"
|
16 |
+
01,0009,015,อักขระเหล่านี้ ยกเสียแต่พยัญชนะที่สุดวรรค ๕ ตัว คือ ง ณ น ม
|
17 |
+
01,0009,016,"เกิดในฐานอันเดียว, เอ เกิดใน ๒ ฐาน คือ คอและเพดาน เรียกว่า"
|
18 |
+
01,0009,017,"กณฺตาลุโชล, โอ เกิดใน ๒ ฐาน คือ คอและริมฝีปาก เรียกว่า"
|
19 |
+
01,0009,018,"คณฺโฏฺโช, พยัญชนะที่สุดวรรค ๕ ตัว เกิดใน ๒ ฐาน คือ ตาม"
|
20 |
+
01,0009,019,"ฐานของตน ๆ และจมูก เรียกว่า สกฏฺานนาสิกฏฺานชา, ว เกิดใน"
|
21 |
+
01,0009,020,"๒ ฐาน คือ ฟันและริมฝีปาก เรียกว่า ทนฺโตฏฺโช, ห พยัญชนะ"
|
22 |
+
01,0009,021,ที่ประกอบด้วยพยัญชนะ ๘ ตัว คือ ณ น ม ย ล ว ฬ ท่าน
|
01/010010.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0010,001,กล่าวว่าเกิดแต่อก ที่ไม่ได้ประกอบ เกิดในคอตามฐานเดิมของตน.
|
3 |
+
01,0010,002,[ ๗ ] กรณ์ที่ทำอักขระมี ๔ คือ ชิวฺหามชฺฌํ ท่ามกลางลิ้น ๑
|
4 |
+
01,0010,003,ชิวฺโหปคฺคํ ถัดปลายลิ้นเข้ามา ๑ ชิวฺหคฺคํ ปลายลิ้น ๑ สกฏฺานํ
|
5 |
+
01,0010,004,"ฐานของตน ๑. ท่ามกลางลิ้น เป็นกรณ์ของขระที่เป็นตาลุชะ, ถัด"
|
6 |
+
01,0010,005,"ปลายลิ้นเข้ามา เป็นกรณ์ของอักขระที่เป็นมุทธชะ, ปลายลิ้น เป็น"
|
7 |
+
01,0010,006,"กรณ์ของอักขระที่เป็นทันตชะ, ฐานของตนเป็นกรณ์ของอกขระที่เหลือ"
|
8 |
+
01,0010,007,จากนี้.
|
9 |
+
01,0010,008,เสียงอักขระ
|
10 |
+
01,0010,009,"[ ๘ ] มาตราที่จะว่าอักขระนั้น ดังนี้ สระสั้นมาตราเดียว,"
|
11 |
+
01,0010,010,"สระยาว ๒ มาตรา, สระมีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง ๓ มาตรา,"
|
12 |
+
01,0010,011,"พยัญชนะทั้งปวงกึ่งมาตรา, เหมือนหนึ่งว่าสระนั้นตัวหนึ่งกึ่งวินาที"
|
13 |
+
01,0010,012,"( ครึ่ง ซกัน ) ว่าสระยาวต้องวินาทีหนึ่ง, ว่าสระที่มีพยัญชนะสังโยค"
|
14 |
+
01,0010,013,"อยู่เบื้องหลังวินาทีครึ่ง, ว่าพยัญชนะควบกัน เหมือน ตฺย ตั้งแต่ ตล"
|
15 |
+
01,0010,014,ถึง ย เท่าส่วนที่ ๔ ของวินาที ซึ่งกำหนดระยะเสียงวินาทีดังนี้ ก็เป็น
|
16 |
+
01,0010,015,การไม่แน่ทีเดียว เป็นแต่ว่าไว้พอจะได้รู้จักระยะมาตราเท่านั้น.
|
17 |
+
01,0010,016,"[ ๙ ] สระ ๘ ตัวนั้น, มีเสียงไม่ต่างกับภาษาของเรา เพราะ"
|
18 |
+
01,0010,017,ฉะนั้น ไม่ต้องแสดงโดยพิศดาร ย่อลงเป็น ๒ คงมีเสียงสั้นอย่างหนึ่ง ๑
|
19 |
+
01,0010,018,มีเสียงยาวอย่าง ๑ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น [ ๓ ] นั้นแล้ว.
|
20 |
+
01,0010,019,[ ๑๐ ] แม้ถึงพยัญชนะก็มีเสียงไม่ต่างกันนัก ที่ต่างกัน คือ
|
21 |
+
01,0010,020,ค ช ฑ ท พ ๕ ตัวนี้ เป็นแต่ให้ผู้ศึกษากำหนดพยัญชนะที่เป็นโฆสะ
|
22 |
+
01,0010,021,และอโฆสะเป็นต้น อ่านให้ถูกต้องดีขึ้นกว่าแต่ก่อน ก็จะเป็นความ
|
01/010011.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0011,001,เจริญวิทยาของตน.
|
3 |
+
01,0011,002,พยัญชนะแบ่งเป็น ๒ ตามที่มีเสียงก้องและไม่ก้อง. พยัญชนะที่มี
|
4 |
+
01,0011,003,เสียงก้อง เรียกว่าโฆสะ ที่มีเสียงไม่ก้อง เรียกว่าอโฆสะ พยัญชนะที่ ๑
|
5 |
+
01,0011,004,"ที่ ๒ ในวรรคทั้ง ๕ คือ ก ข, จ ฉ, ฏ , ต ถ, ป ผ, และ ส ๑๑ ตัวนี้"
|
6 |
+
01,0011,005,"เป็นอโฆสะ, พยัญชนะที่ ๓ ที่ ๔ ๕ ในวรรคทั้งที่ ๕ คือ ค ฑ ง,"
|
7 |
+
01,0011,006,"ช ฌ , ฑ ฒ ฌ, ท ธ น, พ ภ ม, และ ย ร ล ว ห ฬ, ๒๑ ตัวนี้ เป็น"
|
8 |
+
01,0011,007,"โฆสะ, นิคคหิต นักปราชญ์ผู้รู้ศัพทศาสตร์ ประสงค์เป็นโฆสะ, ส่วน"
|
9 |
+
01,0011,008,นักปราชญ์ฝ่ายศาสนา ประสงค์เป็นโฆสาโฆสวิมุตติ พ้นจากโฆสะและ
|
10 |
+
01,0011,009,"อโฆสะ, และเสียงของนิคคหิตนี้อ่านตามวิธีบาลีภาษา มีสำเนียงเหมือน"
|
11 |
+
01,0011,010,ตัว ง สะกด อ่านตามวิธีสันสกฤต มีสำเนียงเหมือนตัว ม สะกด.
|
12 |
+
01,0011,011,[ ๑๑ ] พยัญชนะวรรคที่เป็นโฆสะและอโฆสะ ก็แบ่งเป็น ๒ ตาม
|
13 |
+
01,0011,012,"เสียงหย่อนและหนัก, พยัญชนะที่ถูกฐานของตนหย่อน ๆ ชื่อสิถิล,"
|
14 |
+
01,0011,013,"พยัญชนะที่ถูกฐานของตนหนัก บันลือเสียงดัง ชื่อธนิต, พยัญชนะที่ ๑"
|
15 |
+
01,0011,014,"ที่ ๓ ในวรรคทั้ง ๕ เป็นสิถิล, พยัญชนะที่ ๒ ที่ ๔ ในวรรคทั้ง ๕"
|
16 |
+
01,0011,015,"เป็นธนิต, ในคัมภีร์กัจจายนเภทแสดงไว้ว่า พยัญชนะที่สุดวรรค ๕ ตัว"
|
17 |
+
01,0011,016,ก็เป็นสิถิล แต่ในคัมภีร์ทั้งหลายอื่น ท่านมิได้กล่าว.
|
18 |
+
01,0011,017,[ ๑๒ ] เมื่อผู้ศึกษากำหนดจำโฆสะ อโฆสะ สิถิล ธนิต ได้แล้ว
|
19 |
+
01,0011,018,"พึงรู้เสียงดังนี้ พยัญชนะที่เป็นสิถิลอโฆสะ มีเสียงเบากว่าทุกพยัญชนะ,"
|
20 |
+
01,0011,019,ธนิตอโฆสะ มีเสียงหนักกว่าสิถิลอโฆสะ. สิถิลโฆสะ มีเสียงดังกว่า
|
21 |
+
01,0011,020,"ธนิตอโฆสะ, ธนิตโฆสะ มีเสียงดังก้องกว่าสิถิลโฆสะ, เป็นชั้น ๆ"
|
22 |
+
01,0011,021,ดังนี้.
|
01/010012.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0012,001,พยัญชนะสังโยค
|
3 |
+
01,0012,002,[ ๑๓ ] ลักษณะที่จะประกอบพยัญชนะซ้อนกันได้นั้น ดังนี้ ใน
|
4 |
+
01,0012,003,พยัญชนะวรรคทั้งหลาย พยัญชนะที่ ๑ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๑ และ
|
5 |
+
01,0012,004,"ที่ ๒ ในวรรคของตนได้, พยัญชนะที่ ๓ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๓ และ"
|
6 |
+
01,0012,005,"ที่ ๔ ในวรรคของตนได้, พยัญชนะที่ ๕ สุดวรรค ซ้อนหน้าพยัญชนะ"
|
7 |
+
01,0012,006,"ในวรรคของตนได้ทั้ง ๕ ตัว ยกเสียงแต่ตัว ง ซึ่งเป็นตัวสะกดอย่างเดียว,"
|
8 |
+
01,0012,007,"มิได้มีสำเนียงในภาษาบาลี ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้, พยัญชนะวรรค"
|
9 |
+
01,0012,008,"ที่ซ้อนกันดังนี้ก็ดี ตัว ย ล ส ซ้อนกัน ๒ ตัวก็ดี ไม่มีสระคั่น,"
|
10 |
+
01,0012,009,พยัญชนะตัวหน้า เป็นตัวสะกดของสระที่อยู่หน้าตน ไม่ออกเสียง
|
11 |
+
01,0012,010,ผสมด้วยพยัญชนะตัวหลัง ส่วนพยัญชนะตัวหลัง อาศัยสระตัวหน้า
|
12 |
+
01,0012,011,ออกสำเนียง เมื่อพยัญชนะตัวใดสะกด จะมีเสียงเป็นอย่างไรนั้น ก็
|
13 |
+
01,0012,012,เหมือนกับคำของเรา ไม่ต้องกล่าว แปลกกันแต่ในภาษาของเรา
|
14 |
+
01,0012,013,"ตัว ร ใช้สะกด และมีสำเนียงเป็นกน เหมือนคำว่า "" นคร "" เรา"
|
15 |
+
01,0012,014,"อ่านกันว่า "" นคอน "" เป็นต้น เป็นตัวอย่าง ในตันติภาษาทั้งปวง"
|
16 |
+
01,0012,015,ตัว ร ไม่เป็นตัวสะกดมีเสียงเป็น กน เลย.
|
17 |
+
01,0012,016,[ ๑๔ ] พยัญชนะ ๔ ตัว คือ ย ร ล ว ถ้าอยู่หลังพยัญชนะ
|
18 |
+
01,0012,017,"ตัวอื่น ออกเสียงผสมกับพยัญชนะตัวหน้า, ตัว ส มีสำเนียงเป็น"
|
19 |
+
01,0012,018,อุสุมะ ไม่มีคำเทียบในภาษาของเรา มีแต่ภาษาอังกฤษ เหมือน
|
20 |
+
01,0012,019,คำว่า AS เป็นต้น แม้ถึงเป็นตัวสะกดของสระตัวหน้าแล้ว ก็คงมีเสียง
|
21 |
+
01,0012,020,ปรากฏหน่อยหนึ่ง ประมาณกึ่งมาตราของสระสั้น พอให้รู้ได้ว่าตัว
|
22 |
+
01,0012,021,"ส สะกด ไม่ออกเสียงเต็มที่ เหมือนอาศัยสระ, ตัว ห นั้น ถ้าอยู่หน้า"
|
01/010013.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0013,001,พยัญชนะอื่น ก็ทำให้สระที่อยู่ข้างหน้าตน ออกเสียงมีลมมากขึ้น
|
3 |
+
01,0013,002,"เหมือนคำว่า พฺรหฺม ถ้าพยัญชนะ ๘ ตัว ณ น ม, ย ล ว ฬ, นำหน้า"
|
4 |
+
01,0013,003,มีสำเนียงเข้าผสมพยัญชนะนั้น.
|
5 |
+
01,0013,004,[ ๑๕ ] ข้อที่ว่าไว้ข้างต้นว่า พยัญชนะทั้งปวงกึ่งมาตรานั้น ว่า
|
6 |
+
01,0013,005,ตามที่ท่านแสดงไว้โดยไม่แปลกกัน ถ้าจะแสดงให้พิสดารสักหน่อย
|
7 |
+
01,0013,006,ตามวิธีนักปราชญ์ชาวตะวันตกจัดแบ่งไว้นั้น เห็นว่า พยัญชนะวรรค
|
8 |
+
01,0013,007,ทั้งปวง เป็นมูคะพยัญชนะ MUTES ไม่มีมาตราเลย เพราะจะรวมเข้า
|
9 |
+
01,0013,008,กับพยัญชนะวรรคตัวใดตัวหนึ่งลงในสระเดียวกัน ออกเสียงผสมกับ
|
10 |
+
01,0013,009,"ไม่ได้ เป็นได้อยู่แต่ตัวสะกดอย่างเดียว, ส่วนพยัญชนะ คือ ย ร ล"
|
11 |
+
01,0013,010,ว ส ห ฬ ๗ ตัวนี้ เป็นอัฑฒสระ มีเสียงกึ่งสระ คือ กึ่งมาตรา
|
12 |
+
01,0013,011,เพราะพยัญชนะเหล่านี้ บางตัวก็รวมลงในสระเดียวกันด้วยพยัญชนะ
|
13 |
+
01,0013,012,อื่น ออกเสียงพร้อมกันได้ บางตัว แม้เป็นตัวสะกด ก็คงออกเสียง
|
14 |
+
01,0013,013,หน่อยหนึ่ง พอให้รู้ได้ว่าตัวนั้นสะกด
|
15 |
+
01,0013,014,ลำดับอักขระ
|
16 |
+
01,0013,015,[ ๑๖ ] การเรียงลำดับอักขระนั้น ไม่สู้เป็นอุปการะแก่ผู้ที่แรก
|
17 |
+
01,0013,016,ศึกษา ถึงกระนั้น ก็เป็นเครื่องประดับปัญญาได้อย่างหนึ่ง จึงได้
|
18 |
+
01,0013,017,แสดงไว้ในที่นี้ ในคัมภีร์มุขมัคคสารทีปนี ท่านแสดงลำดับแห่ง
|
19 |
+
01,0013,018,อักขระไว้ดังนี้ อักขระ ๔๑ ตัว แม้ต่างกันโดยฐานที่เกิดเป็นต้น ก็
|
20 |
+
01,0013,019,เป็น ๒ อย่าง คือ เป็นนิสสัยอย่าง ๑ เป็นนิสสิตอย่าง ๑ สระที่เป็น
|
21 |
+
01,0013,020,"ที่อาศัยของพยัญชนะ ชื่อนิสสัย, พยัญชนะอันอาศัยสระ ชื่อนิสสิต"
|
01/010014.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0014,001,เมื่อจะเรียงอักขระให้เป็นลำดับ จำจะต้องเรียงนิสสัยไว้ก่อน ท่านจึง
|
3 |
+
01,0014,002,เรียงสระก่อน ก็สระนั้นเล่า ก็เป็น ๒ อย่าง เกิดในฐานเดียวบ้าง
|
4 |
+
01,0014,003,"เกิดใน ๒ ฐานบ้าง, ควรจะเรียงสระที่เกิดในฐานเดียวก่อน ก็สระที่"
|
5 |
+
01,0014,004,เกิดในฐานเดียวนั้นเป็น ๓ อย่าง กัณฐชะ เกิดในคออย่าง ๑ ตาลุชะ
|
6 |
+
01,0014,005,เกิดที่เพดานอย่าง ๑ โอฏฐชะ เกิดที่ริมฝีปากอย่าง ๑ สระที่เกิดใน
|
7 |
+
01,0014,006,ฐานเดียว ที่จำจะต้องเรียงก่อนนั้น ท่านก็เรียงไปตามลำดับฐานที่
|
8 |
+
01,0014,007,เกิด ตั้งต้นแต่คอ ถัดมาก็ถึงเพดาน ต่อมาจึงถึงริมฝีปาก ในสระ
|
9 |
+
01,0014,008,ที่เกิดในฐานเดียว ซึ่งไปตามลำดับฐานดังนี้นั้น รัสสสระเป็นลหุ
|
10 |
+
01,0014,009,มีเสียงเบา ทีฆสระเป็นครุ มีเสียงหนัก ควรเรียงลหุก่อน ท่านจึง
|
11 |
+
01,0014,010,เรียงลหุก่อน ครุภายหลัง ในสระที่เกิดใน ๒ ฐาน ท่านเรียงตัว เอ
|
12 |
+
01,0014,011,ไว้ก่อน ตัว โอ ไว้ภายหลัง เพราะ เอ เกิดในฐานทั้ง ๒ ที่ตั้ง
|
13 |
+
01,0014,012,"อยู่ก่อน คือ คอและเพดาน, ตัว โอ เกิดในฐานทั้งอยู่ภาย"
|
14 |
+
01,0014,013,หลัง คือ คอและริมฝีปาก นี้เป็นลำดับสระ.
|
15 |
+
01,0014,014,[ ๑๗ ] ส่วนพยัญชนะก็เป็น ๒ เป็นวรรค ๑.เป็นอวรรค ๑.
|
16 |
+
01,0014,015,ท่านเรียงพยัญชนะวรรคไว้ก่อน พยัญชนะที่มิใช่วรรคไว้หลัง เพราะ
|
17 |
+
01,0014,016,พยัญชนะวรรคมากกว่าพยัญชนะที่มิใช่วรรค ให้รู้จักลำดับของ
|
18 |
+
01,0014,017,พยัญชนะวรรคทั้ง ๕ ตามลำดับฐานดังนี้ ฐาน คือ คอ เป็นต้น
|
19 |
+
01,0014,018,ถัดมา เพดาน ปุ่มเหงือก ฟัน ริมฝีปาก เป็นลำดับกันไป ท่าน
|
20 |
+
01,0014,019,จึงเรียง ก วรรคไว้ต้น ต่อไป จ วรรค ฏ วรรค ต วรรค ป วรรค
|
21 |
+
01,0014,020,เป็นลำดับไป แม้ถึงอักขระในวรรคเล่าก็เป็น ๒ โฆสะอย่าง ๑ อโฆสะ
|
22 |
+
01,0014,021,อย่าง ๑ แม้ถึงควรจะเรียงโฆสะไว้ก่อน เพราะมากกว่าก็จริงอยู่ ถึง
|
01/010015.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0015,001,กระนั้น พยัญชนะที่เป็นโฆสะเสียงหนักกว่า พยัญชนะที่เป็นอโฆสะ
|
3 |
+
01,0015,002,เสียงเบา จำจะต้องเรียงพยัญชนะที่ที่มีเสียงเบาก่อน เรียงพยัญชนะที่
|
4 |
+
01,0015,003,มีเสียงหนักไว้ภายหลัง ท่านจึงได้เรียงอโฆสะไว้ก่อน โฆสะไว้ภาย
|
5 |
+
01,0015,004,"หลัง, ในพยัญชนะที่มิใช่วรรคก็เป็น ๒ คือ โฆสะและอโฆสะ ย ร ล "
|
6 |
+
01,0015,005,ว ห ฬ ๖ ตัวนี้เป็นโฆสะ ส เป็นอโฆสะ ในที่นี้โฆสะมากกว่า อโฆสะ
|
7 |
+
01,0015,006,มีแต่ตัวเดียวเท่านั้น ท่านจึงเรียงโฆสะไปตามลำดับฐานที่เกิดเสียก่อน
|
8 |
+
01,0015,007,ไม่เรียงเหมือนพยัญชนะในวรรค ต่อนั้นจึงอโฆสะ แต่ ห เพราะเป็น
|
9 |
+
01,0015,008,โฆสะและกัณฐชะ ควรจะเรียงไว้ก่อนก็จริง ถึงกระนั้น พึงเห็นว่า
|
10 |
+
01,0015,009,ท่านเรียงไว้ผิดลำดับ เพื่อจะให้รู้ว่า แม้เรียงไปตามลำดับก็คงผิดลำดับ
|
11 |
+
01,0015,010,[ เหตุผลที่เรียงตัว ห ต่อตัว ส นี้ ท่านแสดงไว้ไม่วิเศษอย่างนี้ นัก
|
12 |
+
01,0015,011,ปราชญ์ควรพิจารณาดู ] นักปราชญ์ซึ่งรู้คัมภีร์ศัพทศาสตร์ทั้งหลาย
|
13 |
+
01,0015,012,กล่าวตัว ฬ ทำวิการให้เป็นตัว ฑ ในที่นี้ท่านกล่าวไว้ต่างหาก ส่วน
|
14 |
+
01,0015,013,อาจารย์ผู้ทำสูตรเล่าเรียน [ มิใช่พระสูตรในพระไตรปิฏก ประสงค์
|
15 |
+
01,0015,014,เอาสูตรเช่นในมูล ] กล่าวตัว ล ในที่ตัว ฬ พยัญชนะ คือ ฬ นี้
|
16 |
+
01,0015,015,แม้ถึงท่านไม่ได้พิจารณาว่าเป็นโฆสะหรืออโฆสะ ก็อาจรู้ได้ตาม
|
17 |
+
01,0015,016,วิจารณ์ ล เพราะตั้งอยู่ในฐานเป็นตัว ล แต่ในคัมภีร์ศัพทศาสตร์
|
18 |
+
01,0015,017,ท่านหมายเอาเป็นตัว ฑ ไม่กล่าวไว้ต่าง เพื่อจะให้รู้ว่า ชนทั้งปวง
|
19 |
+
01,0015,018,ไม่กล่าวเหมือนกัน บางพวกก็กล่าวตัว ล ในที่ตัว ฬ นั้น บางพวก
|
20 |
+
01,0015,019,กล่าวตัว ฑ ในที่ตัว ฬ นั้น เพราะเป็นมุทธชะและโฆสะ ดังนี้ ควรจะ
|
21 |
+
01,0015,020,เรียงไว้ในลำดับแห่ง ร แต่ท่านมาเรียงไว้หลัง [ ข้อนี้ก็ควรวิจารณ์
|
22 |
+
01,0015,021,หรือเพราะเป็นพยัญชนะที่นิยมเอาเป็นแน่ไม่ได้เหมือนพยัญชนะอื่น จึง
|
01/010016.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,5 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0016,001,เรียงไว้เสียข้างหลัง ] นิคคหิตท่านเรียงเอาไว้ในที่สุดของพยัญชนะ
|
3 |
+
01,0016,002,ทั้งปวงทีเดียว เพราะไม่มีเสียง ไม่มีพวก และพ้นจากโฆสะอโฆสะ
|
4 |
+
01,0016,003,นี้เป็นลำดับพยัญชนะ.
|
5 |
+
01,0016,004,<I>จบสมัญญาภิธานแต่เท่านี้.</I>
|
01/010017.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0017,001,สนธิ
|
3 |
+
01,0017,002,[ ๑๘ ] ในบาลีภาษา มีวิธีต่อศัพท์และอักขระ ให้เนื่องกันด้วย
|
4 |
+
01,0017,003,อักขระ เพื่อจะย่นอักขระให้น้อยลง เป็นการอุปการะในการแต่งฉันท์
|
5 |
+
01,0017,004,และให้คำพูดสละสลวย เรียกสนธิ แต่มิใช่สมาส ที่ย่นบทมีวิภัตติ
|
6 |
+
01,0017,005,หลาย ๆ บทให้เป็นบทเดียวกัน ซึ่งจกล่าวในวจิวิภาคข้างหน้า.
|
7 |
+
01,0017,006,การต่อมี ๒ คือ ต่อศัพท์ที่มีวิภัตติ ให้เนื่องด้วยศัพท์ที่มีวิภัตติ
|
8 |
+
01,0017,007,เหมือน จตฺตาโร อิเม ต่อเข้าเป็น จตฺตาโรเม เป็นต้นอย่าง ๑
|
9 |
+
01,0017,008,ต่อบทสมาส ย่ออักษรให้น้อยลง เหมือน กต อุปกาโร ต่อเข้า
|
10 |
+
01,0017,009,เป็น กโตปกาโร เป็นต้นอย่าง ๑.
|
11 |
+
01,0017,010,ในที่นี้ ข้าพเจ้าประสงค์จะให้ผู้ศึกษา เรียนแต่วิธีอักขระ
|
12 |
+
01,0017,011,ด้วยอักขระอย่างเดียวเท่านั้น ยังไม่ประสงค์จะให้เข้าใจเนื้อความ
|
13 |
+
01,0017,012,ของคำที่เขียนเป็นอุทาหรณ์ไว้ ซึ่งเป็นเหตุให้เนิ่นช้า จึงมิได้แปล
|
14 |
+
01,0017,013,เนื้อความไว้ด้วย เพราะยังไม่เป็นสมัยที่จะควรเรียนให้เข้าใจเนื้อ
|
15 |
+
01,0017,014,ความก่อน ก็การต่ออักขระด้วยอักขระนั้น จัดเป็น ๓ ตามความที่
|
16 |
+
01,0017,015,เป็นประธานก่อน คือสระสนธิ ต่อสระ ๑ พยัญชนะสนธิ ต่อ
|
17 |
+
01,0017,016,"พยัญชนะ ๑ นิคคหิตสนธิ ต่อนิคคหิต ๑, สนธิกิริโยปกรณ์ วิธี"
|
18 |
+
01,0017,017,เป็นอุปการะแก่การทำสนธิ ๘ อย่าง โลโป ลบ ๑ อาเทโส แปลง ๑
|
19 |
+
01,0017,018,อาคโม ลงตัวอักษรใหม่ ๑ วิกาโร ทำให้ผิดจากของเดิม ๑
|
20 |
+
01,0017,019,ปกติ ปรกติ ๑ ทีโฆ ทำให้ยาว ๑ รสฺสํ ทำให้สั้น ๑ สฺโโค
|
21 |
+
01,0017,020,ซ้อนตัว ๑.
|
01/010018.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,24 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0018,001,สระสนธิ
|
3 |
+
01,0018,002,[ ๑๙ ] ในสระสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์เบื้องต้นครบทั้ง ๘ ขาด
|
4 |
+
01,0018,003,แต่ สฺโโค อย่างเดียว. โลโป ที่ต้นมี ๒ คือ ลบสระหน้า ๑ ลบ
|
5 |
+
01,0018,004,สระหลัง ๑. สระที่สุดของศัพท์หน้า เรียกสระหน้า สระหน้าของ
|
6 |
+
01,0018,005,ศัพท์หลัง เรียกสระเบื้องปลาย หรือสระหลัง เมื่อสระทั้ง ๒ นี้ไม่มี
|
7 |
+
01,0018,006,พยัญชนะอื่นคั่นในระหว่าง ลบได้ตัวหนึ่ง ถ้าพยัญชนะคั่น ลบ
|
8 |
+
01,0018,007,"ไม่ได้ ลบสระเบื้องต้น ท่านวางอุทาหรณ์ไว้ดังนี้ ยสฺส-อินฺทฺริยานิ,"
|
9 |
+
01,0018,008,"ลบสระหน้า คือ อ ในที่สุดแห่งศัพท์ ยสฺส เสีย สนธิเป็น ยสฺสินฺทฺริยานิ,"
|
10 |
+
01,0018,009,โนหิ -เอตํ ลบสระหน้า คือ อิ ที่สุดแห่งศัพท์ โนหิ เสีย สนธิเป็น
|
11 |
+
01,0018,010,"โนเหตํ, สเมตุ-อายสฺมา ลบสระหน้าคือ อุ ที่สุดแห่งศัพท์ สเมตุ"
|
12 |
+
01,0018,011,เสีย สนธิเป็น สเมตายสฺมา. ในอุทาหรณ์เหล่านี้ สระหน้าเป็นรัสสะ
|
13 |
+
01,0018,012,สระเบื้องปลาย อยู่หน้าพยัญชนะสังโยคบ้าง เป็นทีฆะบ้าง จึงเป็น
|
14 |
+
01,0018,013,แต่ลบสระหน้าอย่างเดียว ถ้าสระทั้ง ๒ เป็นรัสสะมีรูปเสมอกัน คือ
|
15 |
+
01,0018,014,เป็น อ หรือ อิ หรือ อุ ทั้ง ๒ ตัว เมื่อลบแล้วต้องทำสระที่ไม่ได้
|
16 |
+
01,0018,015,ลบด้วยทีฆะสนธิที่แสดงไว้ข้างหน้า เหมือน อุ. ว่า ตตฺร-อยํ เป็น
|
17 |
+
01,0018,016,ตตฺรายํ เป็นต้น. [ ถ้าส<SUP>๑</SUP>ระทั้ง ๒ เป็นรัสสะ แต่มีรูปไม่เสมอกัน คือ
|
18 |
+
01,0018,017,ข้างหนึ่งเป็น อ ข้างหนึ่งเป็น อิ หรือ อุ ก็ดี ข้างหนึ่งเป็น อิ ข้าง
|
19 |
+
01,0018,018,หนึ่งเป็น อุ หรือ อ ก็ดี ข้างหนึ่งเป็น อุ ข้างหนึ่งเป็น อ หรือ อิ ก็ดี
|
20 |
+
01,0018,019,
|
21 |
+
01,0018,020, ๑. ตามวิธีใช้อักษรในภาษามคธ ที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
|
22 |
+
01,0018,021,เรียงเมื่อ พ. ศ. ๒๔๖๒ ทรงแนะนำไว้ในข้อ ๑๙ ว่า บทหรือศัพท์ที่เป็นสระโลปสนธิ เมื่อ
|
23 |
+
01,0018,022,ลบสระตัวหนึ่งเสียแล้ว จักทีฆะสระที่เหลือเช่น ตตฺร-อิเม เป็น ตตฺรีเม วิ-อติกฺกโม เป็น
|
24 |
+
01,0018,023,วีติกฺกโม ยกเลิกแบบว่า สระสั้น มีรูปไม่เสมอกัน เข้าสนธิ ไม่ทีฆะ ฯ
|
01/010019.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0019,001,ไม่ต้องทีฆะก็ได้ เหมือน อุ. ว่า จตูหิ-อปาเยหิ เป็น จตูหปาเยหิ
|
3 |
+
01,0019,002,เป็นต้น ] ถ้าสระหน้า เป็นทีฆะ สระเบื้องปลาย เป็นรัสสะ ถ้าลบแล้ว
|
4 |
+
01,0019,003,ต้องทีฆะสระหลัง เหมือน อุ. ว่า สทฺธา-อิธ เป็น สทฺธีธ เป็นต้น
|
5 |
+
01,0019,004,เมื่อว่าโดยสังเขป ถ้าลบสระสั้นทีมีรูปไม่เสมอกัน ไม่ต้องทีฆะ สระ
|
6 |
+
01,0019,005,สั้นที่ไม่ได้ลบ ถ้าลบสระยาวหรือสระสั้นที่มีรูปเสมอกัน ต้องทีฆะ
|
7 |
+
01,0019,006,สระสั้นที่ไม่ได้ลบ ถ้าสระ ๒ ตัวมีรูปไม่เสมอกัน ลบสระเบื้องปลาย
|
8 |
+
01,0019,007,บ้างก็ได้ อุ. ว่า จตฺตาโร-อิเม ลบสระ อิ ที่ศัพท์ อิเม เสีย สนธิ
|
9 |
+
01,0019,008,"เป็น จตฺตาโรเม, กินฺนุ-อิมา ลบสระ อิ ที่ศัพท์ อิมา เสีย สนธิ"
|
10 |
+
01,0019,009,"เป็น กินฺนุมา, นิคคหิตอยู่หน้าลบสระเบื้องปลายได้บ้าง อุ. ว่า"
|
11 |
+
01,0019,010,อภินนฺทุํ-อิติ เป็น อภินนฺทุนฺติ.
|
12 |
+
01,0019,011,[ ๒๐ ] อาเทโส มี ๒ แปลงสระเบื้องหน้า ๑ แปลงสระเบื้อง
|
13 |
+
01,0019,012,หลัง ๑. แปลงสระเบื้องหน้าดังนี้ ถ้า อิ เอ หรือ โอ อยู่หน้า มีสระ
|
14 |
+
01,0019,013,อยู่เบื้องหลัง แปลง อิ ตัวหน้าเป็น ย ถ้าพยัญชนะซ้อนกัน ๓ ตัว
|
15 |
+
01,0019,014,ลบพยัญชนะที่มีรูปเสมอกันเสียตัวหนึ่ง อุ. ว่า ปฏิสณฺารวุตฺติ-อสฺส
|
16 |
+
01,0019,015,"เป็น ปฏิสณฺารวุตฺยสฺส, อคฺคิ-อาคารํ เป็น อคฺยาคารํ, เอา เอ"
|
17 |
+
01,0019,016,เป็น ย อุ. ว่า เต-อสฺส เป็น ตฺยสฺส ได้ในคำว่า ตฺยสฺส ปหีนา
|
18 |
+
01,0019,017,"โหนฺติ, เม-อยํ เป็น มฺยายํ ได้ในคำว่า อธิคโต โข มฺยายํ"
|
19 |
+
01,0019,018,"ธมฺโม, เต-อหํ เป็น ตฺยาหํ ได้ในคำว่า ตฺยาหํ เอวํ วเทยฺยํ,"
|
20 |
+
01,0019,019,เอา โอ เป็น ว อุ. ว่า อถโข-อสฺส เป็น อถขฺวสฺส เอา อุ เป็น
|
21 |
+
01,0019,020,"ว อุ. ว่า พหุ-อาพาโธ เป็น พหฺวาพาโธ, จกฺขุ-อาปาถํ เป็น"
|
22 |
+
01,0019,021,จกฺขฺวาปาถํ.
|
01/010020.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0020,001,แปลงสระเบื้องปลายนั้น ถ้ามีสระอยู่ข้างหน้า แปลง เอ
|
3 |
+
01,0020,002,ตัวหน้าแห่ง เอง ศัพท์อันตั้งอยู่เบื้องปลายเป็น ริ ได้บ้าง แล้วรัสสะ
|
4 |
+
01,0020,003,"สระเบื้องหน้าให้สั้น อุ. ว่า ยถา-เอว เป็น ยถริว, ตถา-เอว"
|
5 |
+
01,0020,004,เป็น ตถริว.
|
6 |
+
01,0020,005,[ ๒๑ ] อาคโม ลงตัวอักษรใหม่นั้นดังนี้ ถ้าสระ โอ อยู่หน้า
|
7 |
+
01,0020,006,พยัญชนะอยู่หลัง ลบ โอ เสีย แล้วลง อ อาคมได้บ้าง อุ. ว่า
|
8 |
+
01,0020,007,"โส-สีลวา เป็น สสีลวา, โส -ปฺวา เป็น สปฺวา, เอโส-"
|
9 |
+
01,0020,008,"ธมฺโม เป็น เอสธมฺโม, พยัญชนะอยู่เบื้องปลายลง โอ อาคมได้"
|
10 |
+
01,0020,009,บ้าง อุ. ว่า ปร-สหสฺสํ ลบ อ ที่สุดแห่ง ปร ศัพท์ แล้วลง โอ
|
11 |
+
01,0020,010,"อาคม เป็น ปโรสหสฺสํ, สรท-สตํ ลบ อ ที่สุดแห่ง สรท ศัพท์"
|
12 |
+
01,0020,011,แล้วลง โอ อาคม เป็น สรโทสตํ.
|
13 |
+
01,0020,012,[ ๒๒ ] วิกาโร เป็น ๒ คือ วิการในเบื้องต้น ๑ วิการในเบื้อง
|
14 |
+
01,0020,013,ปลาย ๑ วิการในเบื้องต้นดังนี้ เมื่อลบสระเบื้องปลายแล้ว เอา
|
15 |
+
01,0020,014,สระเบื้องหน้า คือ อิ เป็น เอ เอา อุ เป็น โอ อุ. ว่า มุนิ-อาลโย
|
16 |
+
01,0020,015,"เป็น มุเนลโย, สุ-อตฺถี เป็น โสตฺถี, วิการในเบื้องหลัง ก็มีวิธี"
|
17 |
+
01,0020,016,เหมือนวิการในเบื้องหน้า เป็นแต่ลบสระหน้า วิการสระหลังเท่านั้น
|
18 |
+
01,0020,017,"อุ ว่า มาลุต-อิริตํ, เป็น มาลุเตริตํ, พนฺธุสฺส-อิว เป็น พนฺธุสฺเสว,"
|
19 |
+
01,0020,018,"น-อุเปติ เป็น โนเปติ, อุทกํ-อุมิกชาตํ เป็น อุทโกมิกชาตํ"
|
20 |
+
01,0020,019,ลบนิคคหิตด้วยโลปสนธิ.
|
21 |
+
01,0020,020,[ ๒๓ ] ปกติสระนั้น ไม่มีวิเศษอันใด เป็นแต่เมื่อสระเรียงกัน
|
22 |
+
01,0020,021,อยู่ ๒ ตัว ควรจะทำเป็นสระสนธิอย่างหนึ่งอย่างใดได้ แต่หาทำไม่ คง
|
01/010021.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0021,001,รูปไว้เป็นปรกติอย่างเดิมเท่านั้น อุ. ว่า โก-อิมํ ก็คง เป็น โกอิมํ.
|
3 |
+
01,0021,002,[ ๒๔ ] ทีฆํ เป็น ๒ คือ ทีฆะสระหน้าอย่าง ๑ ทีฆะสระหลัง
|
4 |
+
01,0021,003,อย่าง ๑ ทีฆะสระนั้น ดังนี้ สระหน้า เมื่อสระหลังลบแล้ว
|
5 |
+
01,0021,004,ทีฆะได้บ้าง อุ. ว่า กึสุ-อิธ เป็น กึสูธ-อิติ เป็น สาธูติ
|
6 |
+
01,0021,005,"เป็นต้น หรือพยัญชนะอยู่หลังทีฆะได้บ้าง อุ. ว่า มุนิ-จเร เป็น มุนีจเร,"
|
7 |
+
01,0021,006,ทีฆะสระเบื้องปลายก็อย่างเดียวกัน ผิดกันแต่ลบสระหน้า ทีฆะสระ
|
8 |
+
01,0021,007,"หลัง ดังนี้ สทฺธา-อิธ เป็น สทฺธีธ, จ-อุภยํ เป็น จูภยํ."
|
9 |
+
01,0021,008,[ ๒๕ ] รสฺสํ นั้น ดังนี้ ถ้าพยัญชนะก็ดี เอ แห่ง เอว ศัพท์
|
10 |
+
01,0021,009,ก็ดี อยู่เบื้องหลัง รัสสะสระข้างหน้าให้มีเสียงสั้นได้บ้าง อุ. ว่า
|
11 |
+
01,0021,010,"โภวาที-นาม เป็น โภวาทินาม, ยถา-เอว เป็น ยถริว."
|
12 |
+
01,0021,011,พยัญชนะสนธิ
|
13 |
+
01,0021,012,[ ๒๖ ] ในพยัญชนะสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์ ๕ คือ โลโป ๑
|
14 |
+
01,0021,013,อาเทโส ๑ อาคโม ๑ ปกติ ๑ สฺโโค ๑. ในโลปะที่ต้นนั้นดังนี้
|
15 |
+
01,0021,014,เมื่อลบสระเบื้องปลายที่มีนิคคหิตอยู่หน้าแล้ว ถ้าพยัญชนะซ้อนเรียง
|
16 |
+
01,0021,015,กัน ๒ ตัว ลบเสียตัวหนึ่ง อุ. ว่า เอวํ-อสฺส เป็น เอวํส ได้ใน
|
17 |
+
01,0021,016,"คำว่า เอวํส เต อาสวา, ปุปฺผํ-อสฺสา เป็น ปุปฺผํสา."
|
18 |
+
01,0021,017,[ ๒๗ ] อาเทสพยัญชนะนั้น ดังนี้ ถ้าสระอยู่หลัง แปลง ติ
|
19 |
+
01,0021,018,ที่ท่านทำเป็น ตฺย แล้วให้เป็น จฺจ อุ. ว่า อิติ-เอวํ เป็น อิจฺเจวํ.
|
20 |
+
01,0021,019,ปติ-อุตฺตริตฺวา เป็น ปจฺจุตฺตริตฺวา เป็นต้น แปลง ธ เป็น ท
|
21 |
+
01,0021,020,ได้บ้าง อุ. ว่า เอกํ-อิธ-อหํ เป็น เอกมิทาหํ [ เอก อยู่หน้า ] แปลง
|
01/010022.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0022,001,ธ เป็น ห ได้บ้าง อุ. ว่า สาธุ-ทสฺสนํ เป็น สาหุทสฺสนํ.
|
3 |
+
01,0022,002,แปลง ท เป็น ต อุ. ว่า สุคโท เป็น สุคโต.
|
4 |
+
01,0022,003,แปลง ต เป็น ฏ อุ. ว่า ทุกฺกตํ เป็น ทุกฺกฏํ.
|
5 |
+
01,0022,004,แปลง ต เป็น ธ อุ. ว่า คนฺตพฺโพ เป็น คนฺธพฺโพ
|
6 |
+
01,0022,005,แปลง ต เป็น ตฺร อุ. ว่า อตฺตโช เป็น อตฺรโช.
|
7 |
+
01,0022,006,แปลง ค เป็น ก อุ. ว่า กุลุปโค เป็น กุลุปโก.
|
8 |
+
01,0022,007,แปลง ร เป็น ล อุ. ว่า มหาสาโร เป็น มหาสาโล.
|
9 |
+
01,0022,008,แปลง ย เป็น ช อุ. ว่า คฺวโย เป็น คฺวโช.
|
10 |
+
01,0022,009,แปลง ว เป็น พ อุ. ว่า กุวโต เป็น กุพฺพโต.
|
11 |
+
01,0022,010,แปลง ย เป็น ก อุ. ว่า สยํ เป็น สกํ.
|
12 |
+
01,0022,011,แปลง ช เป็น ย อุ. ว่า นิชํ เป็น นิยํ.
|
13 |
+
01,0022,012,แปลง ต เป็น ก อุ. ว่า นิยโต เป็น นิยโก.
|
14 |
+
01,0022,013,แปลง ต เป็น จ อุ. ว่า ภโต เป็น ภจฺโจ.
|
15 |
+
01,0022,014,แปลง ป เป็น ผ อุ. ว่า นิปฺผตฺติ เป็น นิปฺผตฺติ.
|
16 |
+
01,0022,015,[ ๑๔ นี้ไม่นิยมสระ หรือพยัญชนะเบื้องปลาย ] แปลง อภิ
|
17 |
+
01,0022,016,"เป็น อพฺภ อุ. ว่า อภิ-อุคฺคจฺฉติ เป็น อพฺภุคฺคจฺฉติ, แปลง อธิ"
|
18 |
+
01,0022,017,"เป็น อชฺฌ อุ. ว่า อธิ-โอกาโส เป็น อชฺโฌกาโส, อธิ-อคมา"
|
19 |
+
01,0022,018,"เป็น อชฺฌคมา [ นี้สระอยู่หลัง ], แปลง อว เป็น โอ อุ. ว่า"
|
20 |
+
01,0022,019,อว-นทฺธา เป็น โอนทฺธา [ พยัญชนะอยู่หลัง ].
|
21 |
+
01,0022,020,[ ๒๘ ] พยัญชนะอาคม ๘ ตัว ย ว ม ท น ต ร ฬ นี้ ถ้าสระ
|
22 |
+
01,0022,021,"อยู่เบื้องหลัง ลงได้บ้าง ดังนี้ ย อาคม ยถา-อิทํ เป็น ยถายิทํ, "
|
01/010023.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,17 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0023,001,"ว อาคม อุ-ทิกฺขติ เป็น วุทิกฺขติ เป็น วุทิกฺขติ, ม อาคม ครุ-เอสฺสติ เป็น"
|
3 |
+
01,0023,002,"ครุเมสฺสติ, ท อาคม อตฺต-อตฺโถ เป็น อตฺตทตฺโถ, น อาคม"
|
4 |
+
01,0023,003,"อิโต-อายติ เป็น อิโตนายติ, ต อาคม ตสฺมา-อิห เป็น ตสฺมาติห,"
|
5 |
+
01,0023,004,"ร อาคม สพฺภิ-เอว เป็น สพฺภิเรว, ฬ อาคม ฉ-อายตนํ เป็น"
|
6 |
+
01,0023,005,"ฉฬายตนํ, ในสัททนีติ ว่า ลง ห อาคมก็ได้ อุทาหรณ์ ว่า สุ-อุชุ"
|
7 |
+
01,0023,006,"เป็น สุหุชุ, สุ-อุฏิตํ เป็น สุหุฏิตํ."
|
8 |
+
01,0023,007,[ ๒๙ ] ปกติพยัญชนะนั้นก็ไม่วิเศษอันใด เหมือนกันกับปกติ
|
9 |
+
01,0023,008,สระ เป็นแต่เมื่อลักษณะที่จะลบหรือแปลง ลงอาคมหรือซ้อนพยัญชนะ
|
10 |
+
01,0023,009,ลงได้ หาทำไม่ คงรูปไว้ตามปรกติเดิม เหมือนคำว่า สาธุ ก็ไม่
|
11 |
+
01,0023,010,แปลงเป็น สาหุ คงรูป สาธุ ไว้เป็นต้นเท่านั้น.
|
12 |
+
01,0023,011,[ ๓๐ ] สฺโโค เป็น ๒ คือ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเหมือนกัน
|
13 |
+
01,0023,012,อย่าง ๑ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปไม่เหมือนกันอย่าง ๑ อุ. ที่ต้นดังนี้
|
14 |
+
01,0023,013,"อิธ-ปโมทติ เป็น อิธปฺปโมทติ, จาตุ-ทสี เป็น จาตุทฺทสี. อุ. ที่ ๒"
|
15 |
+
01,0023,014,นั้น เอาอักขระที่ ๑ ซ้อนหน้าขระที่ ๒ เอาอักขระที่ ๓ ซ้อนหน้า
|
16 |
+
01,0023,015,"อักขระที่ ๔ ดังนี้ จตฺตาริ-านานิ เป็น จตฺตาริฏฺานานิ, เอโสว"
|
17 |
+
01,0023,016,จ-ฌานผโล เป็น เอโสวจชฺฌานผโล.
|
01/010024.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0024,001,นิคคหิตสนธิ
|
3 |
+
01,0024,002,[ ๓๑ ] ในนิคคหิตสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์ ๔ คือ โลโป ๑
|
4 |
+
01,0024,003,อาเทโส ๑ อาคโม ๑ ปกติ ๑. ในโลปะที่ต้นนั้น ดังนี้ เมื่อมีสระ
|
5 |
+
01,0024,004,หรือพยัญชนะอยู่เบื้องหลัง ลบนิคคหิตซึ้งอยู่หน้าบ้างก็ได้ มี อุ. ว่า
|
6 |
+
01,0024,005,ตาสํ-อหํ เป็น ตาสาหํ ได้ในคำว่า ตาสาหํ สนฺติเก พฺรหฺมจริยํ
|
7 |
+
01,0024,006,"จริสฺสามิ, วิทูนํ-อคฺคํ เป็น วิทูนคฺคํ, อริยสจฺจานํ-ทสฺสนํ เป็น"
|
8 |
+
01,0024,007,"อริยสจฺจานทสฺสนํ, พุทฺธานํ-สาสนํ เป็น พุทฺธานสาสนํ."
|
9 |
+
01,0024,008,[ ๓๓ ] อาเทสนิคคหิตนั้น ดังนี้ เมื่อมีพยัญชนะอยู่หลัง นิคคหิต
|
10 |
+
01,0024,009,อยู่หน้า แปลงนิคคหิตเป็นพยัญชนะสุดวรรคได้ทั้ง ๕ ตามสมควร
|
11 |
+
01,0024,010,แก่พยัญชนะวรรคที่อยู่เบื้องหลังดังนี้
|
12 |
+
01,0024,011,เป็น ง อุ. ว่า เอวํ-โข เป็น เอวงฺโขง.
|
13 |
+
01,0024,012,เป็น อุ. ว่า ธมฺมํ-จเร เป็น ธมฺมฺจเร
|
14 |
+
01,0024,013,เป็น ณ อุ. ว่า สํ-ิติ เป็น สณฺิติ
|
15 |
+
01,0024,014,เป็น น อุ. ว่า ตํ-นิพฺพุตํ เป็น ตนฺนิพฺพตํ.
|
16 |
+
01,0024,015,เป็น ม อุ. ว่า จิรํ-ปวาสึ เป็น จิรมฺปวาสึ.
|
17 |
+
01,0024,016,ถ้า เอ และ ห อยู่เบื้องหลัง แปลงนิคคหิตเป็น ดังนี้ ปจฺจตฺต-
|
18 |
+
01,0024,017,"เอว เป็น ปจฺจตฺตฺเว, ตํ-เอว เป็น ตฺเว, เอวํ-หิ เป็น"
|
19 |
+
01,0024,018,"เอวฺหิ, ตํ-หิ เป็น ตฺหิ. ถ้า ย อยู่เบื้องหลัง แปลงนิคคหิต"
|
20 |
+
01,0024,019,กับ ย เป็น ดังนี้ สํโยโค เป็น สฺโโค ในสัททนีติว่า
|
21 |
+
01,0024,020,ถ้า ล อยู่เบื้องปลาย แปลง นิคคทิตเป็น ล อุทาหรณ์ ปุํ-ลิงฺคํ
|
01/010025.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,18 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0025,001,"เป็น ปุลฺลิงฺคํ, สํ-ลกฺขณา เป็น สลฺลกฺขณา เป็นต้น, ถ้าสระอยู่"
|
3 |
+
01,0025,002,เบื้องปลาย แปลงนิคคหิตเป็น ม และ ท ดังนี้ ตํ-อหํ เป็น ตมหํ
|
4 |
+
01,0025,003,"พฺรูมิ พฺราหฺมณํ, เอตํ-อโวจ เป็น เอตทโวจ."
|
5 |
+
01,0025,004,[ ๓๓ ] นิคคหิตอาคมนั้นดังนี้ เมื่อสระก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่
|
6 |
+
01,0025,005,เบื้องหลัง ลงนิคคหิตได้บ้าง อุ. ว่า จกฺขุ-อุทปาทิ เป็น จกฺขุํ-
|
7 |
+
01,0025,006,"อุทปาทิ, อว-สิโร เป็น อวํสิโร เป็นต้น."
|
8 |
+
01,0025,007,[ ๓๔ ] ปกตินิคคหิตนั้น ก็ไม่วิเศษอันใด ควรจะลบหรือแปลง
|
9 |
+
01,0025,008,หรือลงนิคคหิตอาคมได้ ไม่ทำอย่างนั้น ปกติไว้ตามรูปเดิม เหมือน
|
10 |
+
01,0025,009,คำว่า ธมฺมํ จเร ก็คงไว้ตามเดิม ไม่อาเทสนิคคหิตเป็น ให้เป็น
|
11 |
+
01,0025,010,ธมฺมฺจเร เป็นต้น เท่านั้น.
|
12 |
+
01,0025,011,วิธีทำสนธิในบาลีภาษานั้น ท่านไม่นิยมให้เป็นแบบเดียว ซึ้ง
|
13 |
+
01,0025,012,จะยักเยื้องเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เหมือนวิธีสนธิในสันสกฤตภาษา ผ่อน
|
14 |
+
01,0025,013,ให้ตามอัธยาศัยของผู้ทำ จะน้อมไปให้ต้องตามสนธิกิริโยปกรณ์
|
15 |
+
01,0025,014,อย่างหนึ่งอย่างใดที่ตนชอบใจ ถ้าไม่ผิดแล้ว ก็เป็นอันใช้ได้ ส่วน
|
16 |
+
01,0025,015,ในสันสกฤตนั้น มีวิธีข้อบังคับเป็นแบบเดียว ยักเยื้องเป็นอย่างอื่น
|
17 |
+
01,0025,016,ไปไม่ได้ จะเลือกเอาวิธีนั้น ซึ่งจะใช้ได้ในบาลีภาษามาเขียนไว้ที่นี้
|
18 |
+
01,0025,017,เพื่อจะได้เป็นเครื่องประดับปัญญาของผู้ศึกษา แต่พอสมควร.
|
01/010026.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,16 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0026,001,แบบสนธิตามวิธีสันสกฤต
|
3 |
+
01,0026,002,[ ๓๕ ] ถ้าศัพท์มีที่สุดเป็น สระ อ หรือ อา ก็ดี อิ หรือ อี ก็ดี
|
4 |
+
01,0026,003,อุ หรือ อู ก็ดี สระตามหลังก็เป็นเหมือนกันอย่างนั้น คือ ถ้าสระ
|
5 |
+
01,0026,004,หน้าเป็น อ หรือ อา ก็เป็น อ หรือ อา เหมือนกัน ถ้าสระหน้าเป็น
|
6 |
+
01,0026,005,อิ หรือ อี ก็เป็น อิ หรือ อี เหมือนกัน ถ้าสระหน้าเป็น อุ หรือ อู
|
7 |
+
01,0026,006,ก็เป็น อุ หรือ อู เหมือนกัน สระ ๒ นั้นผสมกันเข้าเป็นทีฆะ คือ
|
8 |
+
01,0026,007,เป็น อา อี อู ตามรูปของตน ถ้าสระหน้าเป็น อ หรือ อา สระหลัง
|
9 |
+
01,0026,008,"เป็นสระอื่นไม่เหมือนกัน คือ เป็น อิ อี ก็ดี อุ อู ก็ดี, อ อา กับ"
|
10 |
+
01,0026,009,"อิ อี ผสมกันเข้า เป็น เอ, อ อา กับ อุ อู ผสมกันเข้าเป็น โอ."
|
11 |
+
01,0026,010,ถ้าสระหน้าเป็น อิ อี หรือ อุ อู สระหลังเป็นสระอื่น มีรูปไม่
|
12 |
+
01,0026,011,"เสมอกัน เอาสระหน้า คือ อิ อี เป็น ย, อุ อู เป็น ว, ถ้าสระ"
|
13 |
+
01,0026,012,หน้าเป็น เอ หรือ โอ สระหลังเป็น อ ลบ อ เสีย ถ้าสระหลังเป็น
|
14 |
+
01,0026,013,"สระอื่นนอกจาก อ, เอา เอ เป็น อย, เอา โอ เป็น อว, อนุสาร"
|
15 |
+
01,0026,014,คือ นิคคหิต ถ้าพยัญชนะวรรคอยู่หลัง อาเทสเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค
|
16 |
+
01,0026,015,ดังกล่าวแล้วข้างต้น [ ๓๒ ].
|
01/010027.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0027,001,[ ๓๖ ] คำถามชื่อสนธิให้ผู้ศึกษาตอบ
|
3 |
+
01,0027,002,๑ ตตฺร - อยํ - อาทิ ตตฺรายมาทิ
|
4 |
+
01,0027,003,๒ ตตฺร - อภิรตึ - อิจฺเฉยฺย ตตฺราภิรติมิจฺเฉยฺย
|
5 |
+
01,0027,004,๓ ยสฺส - อินฺทฺริยานิ ยสฺสินฺทฺริยานิ
|
6 |
+
01,0027,005,๔ จตฺตาโร - อิเม จตฺตาโรเม
|
7 |
+
01,0027,006,๕ ตโย - อสฺสุ ตยสฺสุ
|
8 |
+
01,0027,007,๖ พนฺธุสฺส - อิว พนฺธุสฺเสว
|
9 |
+
01,0027,008,๗ ตถา - อุปมํ ตถูปมํ
|
10 |
+
01,0027,009,๘ ปฺจหิ - อุปาลิ ปฺจหุปาลิ
|
11 |
+
01,0027,010,๙ อิติ - อสฺส อติสฺส
|
12 |
+
01,0027,011,๑๐ เต - อสฺส ตฺยสฺส
|
13 |
+
01,0027,012,๑๑ วตฺถุ - เอตฺถ วตฺเถวตฺถ
|
14 |
+
01,0027,013,๑๒ ปติ - อาหรติ ปจฺจาหรติ
|
15 |
+
01,0027,014,๑๓ สาธุ - ทสฺสนํ สาหุทสฺสนํ
|
16 |
+
01,0027,015,๑๔ วิตฺติ = อนุภูยเต วิตฺยานุภูยเต
|
17 |
+
01,0027,016,๑๕ ตถา - เอว ตถริว
|
18 |
+
01,0027,017,๑๖ ขนฺติ - ปรมํ ขนฺตีปรมํ
|
19 |
+
01,0027,018,๑๗ โภวาที - นาม โภวาทินาม
|
20 |
+
01,0027,019,๑๘ โส - ปฺวา สปฺวา
|
21 |
+
01,0027,020,๑๙ อิธ - ปโมโท อิธปฺปโมโท
|
01/010028.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
01,0028,001,๒๐ น - ขมติ นกฺขมติ
|
3 |
+
01,0028,002,๒๑ ตํ - การุณิกํ ตงฺการุณิกํ
|
4 |
+
01,0028,003,๒๒ สนฺตํ - ตสฺส สนฺตนฺตสฺส มนํ
|
5 |
+
01,0028,004,๒๓ ตํ - เอว - เอตฺถ ตฺเวตฺถ
|
6 |
+
01,0028,005,๒๔ สํ - ยุตฺตํ สฺุตฺตํ
|
7 |
+
01,0028,006,๒๕ เอวรูปํ - อกาสึ เอวรูปมกาสึ
|
8 |
+
01,0028,007,๒๖ ยํ - อิทํ ยทิทํ
|
9 |
+
01,0028,008,๒๗ น - อิมสฺส นยิมสฺส วิชฺชา
|
10 |
+
01,0028,009,๒๘ อชฺช - อคฺเค อชฺชตคฺเค
|
11 |
+
01,0028,010,๒๙ อารคฺเค - อิว อารคฺเคริว
|
12 |
+
01,0028,011,๓๐ ปร - สหสฺสํ ปโรสหสฺสํ
|
13 |
+
01,0028,012,๓๑ อนุ - ถูลานิ อนุํถูลานิ
|
14 |
+
01,0028,013,๓๒ วิทูนํ - อคูคํ วิทูนคฺคํ
|
15 |
+
01,0028,014,๓๓ พุทฺธานํ - สาสนํ พุทฺธานสาสนํ
|
16 |
+
01,0028,015,๓๔ ปุปฺผํ - อสฺสา ปุปฺผํสา
|
17 |
+
01,0028,016,๓๕ วุตฺติ - อสฺส วุตฺยสฺส
|
18 |
+
01,0028,017,๓๖ เอวํ - อสฺส เอวํส เต อาสวา.
|
19 |
+
01,0028,018,<I>จบสนธิแต่เท่านี้.</I>
|
02/020029.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0029,001,วจีวิภาค ภาคที่ ๒
|
3 |
+
02,0029,002,นาม
|
4 |
+
02,0029,003,[๓๗] นามศัพท์นั้นแบ่งเป็น ๓ คือ นามนาม ๑ คุณนาม ๑
|
5 |
+
02,0029,004,สัพพนาม ๑.
|
6 |
+
02,0029,005,"นามที่เป็นชื่อของคน, สัตว์, ที่, สิ่งของ, เป็นนามนาม. นามนามนี้"
|
7 |
+
02,0029,006,แบ่งออกเป็น ๒ คือ สาธารณนาม ๑ อสาธารณนาม ๑. นามที่ทั่วไป
|
8 |
+
02,0029,007,"แก่คน, สัตว์, ที่, อื่นได้ เหมือนคำว่า มนุสฺโส มนุษย์ ติรจฺฉาโน"
|
9 |
+
02,0029,008,สัตว์ดิรัจฉาน นครํ เมือง เป็นต้น เป็นสาธารณนาม. นามที่ไม่ทั่วไป
|
10 |
+
02,0029,009,แก่สิ่งอื่น เหมือนคำว่า ทีฆาวุ กุมารชื่อทีฆาวุ เอราวโณ ช้างชื่อ
|
11 |
+
02,0029,010,เอราวัณ สาวตฺถี เมืองชื่อสาวัตถีเป็นต้น เป็นอาสาธารณนาม.
|
12 |
+
02,0029,011,นามที่แสดงลักษณะของนามนาม สำหรับหมายให้รู้ว่า นามนาม
|
13 |
+
02,0029,012,นั้น ดีหรือชั่วเป็นต้น เป็นคุณนาม เหมือนคำว่า ปญฺวา มี
|
14 |
+
02,0029,013,ปัญญา ปุริโส บุรุษ ถือเอาความตามภาษาของเราว่า บุรุษมีปัญญา
|
15 |
+
02,0029,014,ปุริโส เป็นนามนาม ปญฺวา เป็นคุณนาม. คุณนามนี้แบ่งเป็น ๓
|
16 |
+
02,0029,015,ชั้น คือ ปกติ ๑ วิเสส ๑ อติวิเสส ๑. คุณนามที่แสดงความดีหรือ
|
17 |
+
02,0029,016,ชั่ว เป็นปกติ เหมือนคำว่า ปณฺฑิโต เป็นบัณฑิต ปาโป เป็นบาป
|
18 |
+
02,0029,017,ชื่อปกติ. คุณนามที่แสดงความดีหรือชั่ว มากหรือน้อยกว่าปกติ
|
19 |
+
02,0029,018,เหมือนคำว่า ปณฺฑิตตโร เป็นบัณฑิตกว่า ปาปตโร เป็นบาปกว่า
|
20 |
+
02,0029,019,ชื่อวิเสส. คุณนามที่แสดงความดีหรือชั่วมากที่สุดหรือน้อยที่สุด เหมือน
|
02/020030.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0030,001,่คำว่า ปณฺฑิตตโม เป็นบัณฑิตที่สุด ปาปตโม เป็นบาปที่สุด ชื่อ
|
3 |
+
02,0030,002,อติวิเสส. วิเสสนั้น ใช้ ตร อิย ปัจจัย ในตัทธิต ต่อปกติบ้าง
|
4 |
+
02,0030,003,ใช้อุปสัค อติ [ยิ่ง] นำหน้าบ้าง. อติวิเสส ใช้ ตม อิฏฺ ปัจจัย
|
5 |
+
02,0030,004,ในตัทธิต ต่อปกติบ้าง ใช้อุปสัคและนิบาต คือ อติวิย [เกินเปรียบ]
|
6 |
+
02,0030,005,นำหน้าบ้าง.
|
7 |
+
02,0030,006,สัพพนาม เป็นชื่อสำหรับใช้แทนนามนาม ที่ออกชื่อมาแล้ว
|
8 |
+
02,0030,007,เพื่อจะไม่ให้ซ้ำ ๆ ซาก ๆ ซึ่งไม่เพราะหู นามทั้ง ๓ นั้นต้องประกอบ
|
9 |
+
02,0030,008,ด้วยลิงค์ วจนะ วิภัตติ.
|
10 |
+
02,0030,009,ลิงค์
|
11 |
+
02,0030,010,[๓๘] นามศัพท์ ในบาลีภาษานั้น ท่านแบ่งเป็นลิงค์ ๓ คือ
|
12 |
+
02,0030,011,"ปุํลิงฺคํ เพศชาย ๑, อิตฺถีลิงฺคํ เพศหญิง ๑, นปุํสกลิงฺคํ มิใช่เพศ"
|
13 |
+
02,0030,012,"ชาย มิใช่เพศหญิง ๑, นามนาม เป็นลิงค์เดียว คือจะเป็น ปุํลิงค์"
|
14 |
+
02,0030,013,"อิตถีลิงค์ หรือนปุํสกลิงค์ ก็อย่างเดียวบ้าง, เป็น ๒ ลิงค์ คือ"
|
15 |
+
02,0030,014,ศัพท์อันเดียว มีรูปอย่างเดียว เป็นไดทั้ง ๒ ลิงค์ หรือมูลศัพท์เป็น
|
16 |
+
02,0030,015,อันเดียว เปลี่ยนแต่สระที่สุด ให้แปลกกัน พอเป็นเครื่องหมายให้
|
17 |
+
02,0030,016,ต่างลิงค์กันบ้าง. คุณนามและสัพพนามเป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์ ลิงค์นั้น
|
18 |
+
02,0030,017,จัดตามสมมติของภาษาบ้าง ตามกำเนิดบ้าง ที่จัดตามสมมตินั้น
|
19 |
+
02,0030,018,เหมือนหนึ่งกำเนิดสตรี สมมติให้เป็นปุํลิงค์ และของที่ไม่มีวิญญาณ
|
02/020031.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0031,001,สมมติ ให้เป็นปุํลิงค์ และอิตถีลิงค์ เหมือนคำว่า ทาโร เมีย สมมติ
|
3 |
+
02,0031,002,"ให้เป็นปุํลิงค์, ปเทโส ประเทศ สมมติให้เป็นปุํลิงค์, ภูมิ แผ่นดิน"
|
4 |
+
02,0031,003,"สมมติให้เป็นอิตถีลิงค์, ที่จัดตามกำเนิดนั้น เหมือน ปุริโส ชาย"
|
5 |
+
02,0031,004,"เป็นปุํลิงค์, อิตฺถี หญิง เป็นอิตถีลิงค์ เป็นต้น. "
|
6 |
+
02,0031,005,ต่อไปนี้จะแสดงอุทาหรณ์ ศัพท์ที่เป็นลิงค์เดียว ๒ ลิงค์ ๓ ลิงค์
|
7 |
+
02,0031,006,พอเป็นตัวอย่าง.
|
8 |
+
02,0031,007,[๓๙] นามนามเป็นลิงค์เดียว
|
9 |
+
02,0031,008,-----------------------------------------------------------------------------------
|
10 |
+
02,0031,009,ปุํลิงค์ อิตถีลิงค์ นปุํสกลิงค์
|
11 |
+
02,0031,010,อมโร เทวดา อจฺฉรา นามอัปสร องฺคํ องค์
|
12 |
+
02,0031,011,อาทิจฺโจ พระอาทิตย์ อาภา รัศมี อารมฺมณํ อารมณ์
|
13 |
+
02,0031,012,อินฺโท พระอินทร์ อิทฺธิ ฤทธิ์ อิณํ หนี้
|
14 |
+
02,0031,013,อีโส คนเป็นใหญ่ อีสา งอนไถ อีริณํ ทุ่งนา
|
15 |
+
02,0031,014,อุทธิ ทะเล อุฬุ ดาว อุทกํ น้ำ
|
16 |
+
02,0031,015,เอรณฺโฑ ต้นละหุ่ง เอสิกา เสาระเนียด เอฬาลุกํ ฟักเหลือง
|
17 |
+
02,0031,016,โอโฆ ห้วงน้ำ โอชา โอชา โอกํ น้ำ
|
18 |
+
02,0031,017,กณฺโณ หู กฏิ สะเอว กมฺมํ กรรม
|
19 |
+
02,0031,018,จนฺโท พระจันทร์ จมู เสนา จกฺขุ นัยน์ตา
|
20 |
+
02,0031,019,ตรุ ต้นไม้ ตารา ดาว เตลํ น้ำมัน
|
21 |
+
02,0031,020,ปพฺพโต ภูเขา ปภา รัศมี ปณฺณํ ใบไม้
|
22 |
+
02,0031,021,ยโม พระยม ยาคุ ข้าวต้ม ยานํ ยาน
|
02/020032.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0032,001,[๔๐] นามนามศัพท์เดียว มีรูปอย่างเดียว เป็น ๒ ลิงค์
|
3 |
+
02,0032,002,--------------------------------------------------------------------------
|
4 |
+
02,0032,003,ปุํลิงค์ นปุํสกลิงค์ คำแปล
|
5 |
+
02,0032,004,อกฺขโร อกฺขรํ อักษร
|
6 |
+
02,0032,005,อคาโร อคารํ เรือน
|
7 |
+
02,0032,006,อุตุ อุตุ ฤดู
|
8 |
+
02,0032,007,ทิวโส ทิวสํ วัน
|
9 |
+
02,0032,008,มโน มนํ ใจ
|
10 |
+
02,0032,009,สํวจฺฉโร สํวจฺฉรํ ปี
|
11 |
+
02,0032,010,[๔๑] นามนามมีมูลศัพท์เป็นอย่างเดียว เปลี่ยนแต่สระที่สุด
|
12 |
+
02,0032,011,เป็น ๒ ลิงค์
|
13 |
+
02,0032,012,--------------------------------------------------------------------------
|
14 |
+
02,0032,013,ปุํลิงค์ อิตถีลิงค์ คำแปล
|
15 |
+
02,0032,014,อรหา หรือ อรหํ อรหนฺตี พระอรหันต์
|
16 |
+
02,0032,015,อาชีวโก อาชีวิกา นักบวช
|
17 |
+
02,0032,016,"อุปาสโก อุปาสิกา อุบาสก, อุบาสิกา"
|
18 |
+
02,0032,017,กุมาโร กุมารี หรือ กุมาริกา เด็ก
|
19 |
+
02,0032,018,ขตฺติโย ขตฺติยานี หรือ ขตฺติยา กษัตริย์
|
20 |
+
02,0032,019,โคโณ คาวี โค
|
21 |
+
02,0032,020,โจโร โจรี โจร
|
22 |
+
02,0032,021,าตโก าติกา ญาติ
|
02/020033.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0033,001,"ตรุโณ ตรุณี ชายหนุ่ม, หญิงสาว "
|
3 |
+
02,0033,002,"เถโร เถรี พระเถระ, พระเถรี"
|
4 |
+
02,0033,003,"ทารโก ทาริกา เด็กชาย, เด็กหญิง"
|
5 |
+
02,0033,004,เทโว เทวี พระเจ้าแผ่นดิน
|
6 |
+
02,0033,005,พระราชเทวี
|
7 |
+
02,0033,006,นโร นารี คน (ชาย - หญิง)
|
8 |
+
02,0033,007,ปริพฺพาชโก ปริพฺพาชิกา นักบวช (ชาย - หญิง)
|
9 |
+
02,0033,008,"ภิกฺขุ ภิกฺขุนี ภิกษุ, ภิกษุณี"
|
10 |
+
02,0033,009,ภวํ โภตี ผู้เจริญ
|
11 |
+
02,0033,010,มนุสฺโส มนุสฺสี มนุษย์ (ชาย - หญิง)
|
12 |
+
02,0033,011,"ยกฺโข ยกฺขินี ยักษ์, ยักษิณี"
|
13 |
+
02,0033,012,"ยุวา ยุวตี ชายหนุ่ม, หญิงสาว"
|
14 |
+
02,0033,013,ราชา ราชินี พระเจ้าแผ่นกิน
|
15 |
+
02,0033,014,พระราชินี
|
16 |
+
02,0033,015,สขา สขี เพื่อน (ชาย - หญิง)
|
17 |
+
02,0033,016,"หตฺถี หตฺถินี ช้างพลาย, ช้างพัง"
|
18 |
+
02,0033,017,[๔๒] คุณนามเป็น ๓ ลิงค์
|
19 |
+
02,0033,018,-----------------------------------------------------------------------------
|
20 |
+
02,0033,019,ปุํลิงค์ อิตพีลิงค์ นปุํสกลิงค์ คำแปล
|
21 |
+
02,0033,020,กมฺมกาโร กมฺมการินี กมฺมการํ ทำการงาน
|
22 |
+
02,0033,021,คุณวา คุณวตี คุณวํ มีคุณ
|
02/020034.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0034,001,จณฺโฑ จณฺฑา จณฺฑํ ดุร้าย
|
3 |
+
02,0034,002,เชฺโ เชฏฺา เชฏฺํ เจริญที่สุด
|
4 |
+
02,0034,003,ตาโณ ตาณา ตาณํ ต้านทาน
|
5 |
+
02,0034,004,ถิโร ถิรา ถิรํ มั่น
|
6 |
+
02,0034,005,ทกฺโข ทกฺขา ทกฺขํ ขยัน
|
7 |
+
02,0034,006,ธมฺมิโก ธมฺมิกา ธมฺมิกํ ตั้งในธรรม
|
8 |
+
02,0034,007,นาโถ นาถา นาถํ ที่พึ่ง
|
9 |
+
02,0034,008,ปาโป ปาปา ปาปํ บาป
|
10 |
+
02,0034,009,โภคี โภคินี โภคิ มีโภคะ
|
11 |
+
02,0034,010,มติมา มติมตี มติมํ มีความคิด
|
12 |
+
02,0034,011,ลาภี ลาภินี ลาภิ มีลาภ
|
13 |
+
02,0034,012,สทฺโธ สทฺธา สทฺธํ มีศรัทธา.
|
14 |
+
02,0034,013,วจนะ
|
15 |
+
02,0034,014,[๔๓] คำพูดในบาลีภาษา จัดเป็น วจนะ ๒ คือ เอกวจนํ
|
16 |
+
02,0034,015,คำพูดสำกรับออกชื่อของสิ่งเดียว ๑ พหุวจนํ คำพูดสำหรับออกชื่อ
|
17 |
+
02,0034,016,"ของมากกว่าสิ่งเดียว คือ ตั้งแต่ ๒ สิ่งขึ้นไป ๑, วจนะ ทั้ง ๒ นี้ มี"
|
18 |
+
02,0034,017,เครื่องหมายให้แปลกกันที่ท้ายศัพท์ เหมือนคำว่า ปุริโส ชายคนเดียว
|
19 |
+
02,0034,018,เป็นเอกวจนะ ปุริสา ชายหลายคน เป็นพหุวจนะ.
|
02/020035.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0035,001,วิภัตติ
|
3 |
+
02,0035,002,[๔๔] คำพูดที่ท่านจัดเป็นลิงค์และวจนะดังนี้นั้น ต้องอาศัย
|
4 |
+
02,0035,003,วิภัตติช่วยอุปถัมภ์ ผู้ศึกษาจึงจะกำหนดเนื้อความได้ง่ายขึ้น เพราะ
|
5 |
+
02,0035,004,ในบาลีภาษานั้น ไม่มีคำใช้ที่จะทำนามศัพท์นี้และนามศัพท์นั้นให้
|
6 |
+
02,0035,005,เนื่องกันเป็นอันเดียว เหมือนภาษาของเรา ซึ่งนับปราชญ์บัญญัติ
|
7 |
+
02,0035,006,"เรียกว่า ""อายตนิบาต"" เหมือนคำว่า ""ซึ่ง, ด้วย, แก่, จาก, ของ,"
|
8 |
+
02,0035,007,"ใน"" เป็นต้น ต้องใช้วิภัตติขางหลังศัพท์บอกให้รู้เนื้อความเหล่านี้"
|
9 |
+
02,0035,008,ทั้งสิ้น. [ความนี้จักรู้แจ้งข้างหน้า] อีกอย่างหนึ่ง ก็เป็นอุบาย ที่จะ
|
10 |
+
02,0035,009,ให้กำหนดลิงค์ได้แม่นยำขึ้น ผู้แรกศึกษายังกำหนดจำลิงค์ไม่ได้ถนัด
|
11 |
+
02,0035,010,ว่า ศัพท์นี้ เป็นลิงค์นี้ ศัพท์นั้น เป็นลิงค์นั้น เมื่อหัดอ่านหนังสือ
|
12 |
+
02,0035,011,ที่ท่านแต่งไว้เห็นปุํลิงค์ ท่านประกอบวิภัตติอย่าง ๑ อีตถีลิงค์อย่าง ๑
|
13 |
+
02,0035,012,นปุํสกลิงค์อย่าง ๑ ก็จะเข้าใจได้ว่า ศัพท์นี้ เป็นลิงค์นี้ ศัพท์นั้น
|
14 |
+
02,0035,013,เป็นลิงค์นั้น ไม่ลำบากด้วยการจำลิงค์.
|
15 |
+
02,0035,014,วิภัตตินั้นมี ๑๔ ตัว แบ่งเป็นเอกวจนะ ๗ พหุวจนะ ๗ ดังนี้ :-
|
16 |
+
02,0035,015,เอกวจนะ พหุวจนะ
|
17 |
+
02,0035,016,ปมา ที่ ๑ สิ โย
|
18 |
+
02,0035,017,ทุติยา ที่ ๒ อํ โย
|
19 |
+
02,0035,018,ตติยา ที่ ๓ นา หิ
|
20 |
+
02,0035,019,จตุตฺถี ที่ ๔ ส นํ
|
02/020036.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0036,001,ปญฺจมี ที่ ๕ สมา หิ
|
3 |
+
02,0036,002,ฉฏฺี ที่ ๖ ส นํ
|
4 |
+
02,0036,003,สตฺตมี ที่ ๗ สฺมึ สุ
|
5 |
+
02,0036,004,ปฐมาวิภัตติที่ต้นนั้น แบ่งเป็น ๒ เป็น ลิงฺคตฺโถ หรือ กตฺตา
|
6 |
+
02,0036,005,ที่เป็นตัวประธานอย่าง ๑ เป็น อาลปนํ คำสำหรับร้องเรียกอย่าง ๑.
|
7 |
+
02,0036,006,"[๔๕] ข้าพเจ้าจะจัดคำพูด ที่เรียกว่า ""อายตนิบาต"" ที่ท่าน"
|
8 |
+
02,0036,007,สงเคราะห์ในวิภัตตินั้น ๆ ให้เป็นหมวด ๆ มาแสดงไว้ในที่นี้ พอ
|
9 |
+
02,0036,008,เป็นตัวอย่างเสียแบบหนึ่งก่อน ให้ผู้ศึกษาจำทรงไว้เสียให้ขึ้นใจ ต่อไป
|
10 |
+
02,0036,009,จะได้แปลได้เอง ไม่ต้องลำบาก จะไม่แสดงต่อไปอีก.
|
11 |
+
02,0036,010,----------------------------------------------------------------------------------
|
12 |
+
02,0036,011,เอกวจนะ พหุวจนะ
|
13 |
+
02,0036,012,ปมา ที่ ๑ -
|
14 |
+
02,0036,013,ทุติยา ที่ ๒ ซึ่ง สู่ ซึ่ง - ท. สู่ - ท.
|
15 |
+
02,0036,014,ยัง สิ้น. ยัง - ท. สิ้น - ท.
|
16 |
+
02,0036,015,ตติยา ที่ ๓ ด้วย โดย ด้วย - ท. โดย - ท.
|
17 |
+
02,0036,016,อัน ตาม อัน - ท. ตาม - ท.
|
18 |
+
02,0036,017,เพราะ มี. เพราะ - ท. มี - ท.
|
19 |
+
02,0036,018,จตุตฺถี ที่ ๔ แก่ เพื่อ แก่ - ท. เพื่อ - ท.
|
20 |
+
02,0036,019,ต่อ. ต่อ - ท.
|
21 |
+
02,0036,020,ปญฺจมี ที่ ๕ แต่ จาก แต่ - ท. จาก - ท.
|
22 |
+
02,0036,021,กว่า เหตุ. กว่า - ท. เหตุ - ท.
|
02/020037.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0037,001,ฉฏฺี ที่ ๖ แห่ง ของ แห่ง - ท. ของ - ท.
|
3 |
+
02,0037,002,เมื่อ. เมื่อ - ท.
|
4 |
+
02,0037,003,สตฺตมี ที่ ๗ ใน ใกล้ ใน - ท. ใกล้ - ท.
|
5 |
+
02,0037,004,ที่ ครั้นเมื่อ ที่ - ท. ครั้นเมื่อ - ท.
|
6 |
+
02,0037,005,ในเพราะ. ในเพราะ - ท.
|
7 |
+
02,0037,006,อาลปนะ แน่ะ ดูก่อน แน่ะ - ท. ดูก่อน - ท.
|
8 |
+
02,0037,007,ข้าแต่. ข้าแต่ - ท.
|
9 |
+
02,0037,008,วิธีแจกนามนาม
|
10 |
+
02,0037,009,[๔๖] ผู้ศึกษาวิธีแจกนามศัพท์ด้วยวิภัตติ ต้องกำหนดจับ
|
11 |
+
02,0037,010,หลักฐานให้ได้ก่อนจึงจะเป็นการง่ายขึ้น. หลักฐานนั้นท่านกำหนด
|
12 |
+
02,0037,011,"ตามสระที่สุดแห่งศัพท์ เรียกว่า การันต์, ศัพท์ที่เป็นลิงค์เดียวกันมี"
|
13 |
+
02,0037,012,การันต์เหมือนกันแล้ว ก็แจกเป็นแบบเดียวกัน ยกไว้แต่ศัพท์บาง
|
14 |
+
02,0037,013,เหล่า ที่มีวิธีแจกอย่างหนึ่งต่างหาก. เมื่อกำหนดได้หลักฐานดังนี้แล้ว
|
15 |
+
02,0037,014,ก็ไม่ต้องหนักใจ เพราะการที่ต้องทรงจำมากนัก จำได้เสียแบบหนึ่ง
|
16 |
+
02,0037,015,แล้ว ก็ใช้ตลอดไปได้หลายร้อยศัพท์ทีเดียว. ในนามนามและคุณนาม
|
17 |
+
02,0037,016,นั้น ท่านจัดการันต์ตามที่ใช้สาธารณาทั่วไปมากนั้น ดังนี้ :-
|
18 |
+
02,0037,017,ในปุํลิงค์มีการันต์ ๕ คือ อ อิ อี อุ อู. ในอิตถีลิงค์มี
|
19 |
+
02,0037,018,การันต์ ๕ คือ อา อิ อี อุ อู. ในนปุํสกลิงค์มีการันต์ ๓ คือ
|
02/020038.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0038,001,อ อิ อุ. จะแจกปุํลิงค์ก่อน แล้วจึงจะแจกอิตถีลิงค์และนปุํสกลิงค์
|
3 |
+
02,0038,002,เป็นลำดับไป.
|
4 |
+
02,0038,003,[๔๗] อ การันต์ ในปุํลิงค์แจกอย่าง ปุริส [บุรุษ] ดังนี้ :-
|
5 |
+
02,0038,004,-----------------------------------------------------------------------------
|
6 |
+
02,0038,005,เอกวจนํ พหุวจนํ
|
7 |
+
02,0038,006,ป. ปุริโส ปุริสา
|
8 |
+
02,0038,007,ทุ. ปุริสํ ปุริเส
|
9 |
+
02,0038,008,ต. ปุริเสน ปุริเสหิ ปุริเสภิ
|
10 |
+
02,0038,009,จ. ปุริสสฺส ปุริสาย ปุริสตฺถํ ปุริสานํ
|
11 |
+
02,0038,010,ปญฺ. ปุริสสฺมา ปุริสมฺหา ปุริสา ปุริเสหิ ปุริเสภิ
|
12 |
+
02,0038,011,ฉ. ปุริสสฺส ปุริสานํ
|
13 |
+
02,0038,012,ส. ปุริสสฺมึ ปุริสมฺหิ ปุริเส ปุริเสสุ
|
14 |
+
02,0038,013,อา. ปุริส ปุริสา
|
15 |
+
02,0038,014,ศัพท์ที่เป็น อ การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน ปุริส
|
16 |
+
02,0038,015,-----------------------------------------------------------------------------
|
17 |
+
02,0038,016,อาจริย อาจารย์ ชน ชน
|
18 |
+
02,0038,017,กุมาร เด็ก ตุรค ม้า
|
19 |
+
02,0038,018,ขตฺติย กษัตริย์ เถน ขโมย
|
20 |
+
02,0038,019,คณ หมู่ ทูต ทูต
|
21 |
+
02,0038,020,โจร โจร ธช ธง
|
22 |
+
02,0038,021,ฉณ มหรสพ นร คน
|
02/020039.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,15 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0039,001,ปาวก ไฟ รุกฺข ต้นไม้
|
3 |
+
02,0039,002,ผลิก แก้วผลึก โลก โลก
|
4 |
+
02,0039,003,พก นกยาง วานร ลิง
|
5 |
+
02,0039,004,ภว ภพ สหาย เพื่อน
|
6 |
+
02,0039,005,มนุสฺส มนุษย์ หตฺถ มือ
|
7 |
+
02,0039,006,ยกฺข ยักษ์
|
8 |
+
02,0039,007,วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และ การันต์
|
9 |
+
02,0039,008,"๑ เอา อ กับ สิ เป็น โอ, กับ โย ปมา เป็น อา."
|
10 |
+
02,0039,009,"๒ เอา อํ เป็น อํ ในที่ทั้งปวง, อ กับ โย ทุ. เป็น เอ."
|
11 |
+
02,0039,010,"๓ เอา อ กับ นา เป็น เอน, หิ และ สุ อยู่หลัง เอา อ เป็น เอ."
|
12 |
+
02,0039,011,เอา หิ เป็น ภิ ได้ในที่ทั้งปวง.
|
13 |
+
02,0039,012,๔ เอา สฺมา เป็น มฺหา ได้ ใน ปุํ. นปุํ. กับ อ เป็น อา.
|
14 |
+
02,0039,013,๖ เอา สฺมึ เป็น มฺหิ ได้ ใน ปุํ นปุํ. กับ อ เป็น เอ.
|
15 |
+
02,0039,014,"๗ อาลปนะ เอก. คงเป็น อ, พหุ. เป็น อา."
|
02/020040.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0040,001,[๔๘] อิ การันต์ ในปุํลิงค์ แจกอย่าง มุนิ [ผู้รู้] ดังนี้ :-
|
3 |
+
02,0040,002,------------------------------------------------------------------
|
4 |
+
02,0040,003,เอก. พหุ.
|
5 |
+
02,0040,004,ป. มุนิ มุนโย มุนี
|
6 |
+
02,0040,005,ทุ. มุนึ มุนโย มุนี
|
7 |
+
02,0040,006,ต. มุนินา มุนีหิ มุนีภิ
|
8 |
+
02,0040,007,จ. มุนิสฺส มุนิโน มุนีนํ
|
9 |
+
02,0040,008,ปญฺ. มุนิสฺมา มุนิมฺหา มุนีหิ มุนีภ
|
10 |
+
02,0040,009,ฉ. มุนิสฺส มุนิโน มุนีนํ
|
11 |
+
02,0040,010,ส. มุนิสฺมึ มุนิมฺหิ มุนิสุ
|
12 |
+
02,0040,011,อา. มุนิ มุนโย มุนี
|
13 |
+
02,0040,012,ศัพท์ที่เป็น อิ การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน มุนิ.
|
14 |
+
02,0040,013,-------------------------------------------------------------------
|
15 |
+
02,0040,014,"อคฺคิ ไฟ ปติ เจ้า, ผัว"
|
16 |
+
02,0040,015,อริ ข้าศึก มณิ แก้วมณี
|
17 |
+
02,0040,016,อหิ งู วิธี วิธี
|
18 |
+
02,0040,017,ถปติ ช่างไม้ วีหิ ข้าวเปลือก
|
19 |
+
02,0040,018,นิธิ ขุมทรัพย์ สมาธิ สมาธิ
|
20 |
+
02,0040,019,วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และ การันต์
|
21 |
+
02,0040,020,"๑ สระที่มิใช่ อ อยู่หน้า ลบ สิ เสีย, โย อยู่หลัง เอา อิ ปุํ เป็น อ"
|
22 |
+
02,0040,021,"ก็ได้, ลบ โย เสียแล้ว ทีฆะ สระ อิ อุ ในลิงค์ทั้ง ๓ ก็ได้."
|
23 |
+
02,0040,022,"๒ อิ อี อุ อู ใน ปุํ. นปุํ. คง นา ไว้, หิ นํ สุ อยู่หลัง ทีฆะ อิ อุ"
|
02/020041.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0041,001,ในลิงค์ทั้งปวง.
|
3 |
+
02,0041,002,๓ เอา ส เป็น สฺส ได้ ใน ปุํ. นปุํ. ข้างหน้าเป็นสระที่มิใช่ อ เอา
|
4 |
+
02,0041,003,เป็น โน ได้ ใน ๒ ลิงค์นั้น.
|
5 |
+
02,0041,004,๔. อาลปนะ มีคติแห่ง ปมา.
|
6 |
+
02,0041,005,[๔๙] อี การันต์ ในปุํลิงค์ แจกอย่าง เสฏฺี [เศรษฐี]
|
7 |
+
02,0041,006,ดังนี้:-
|
8 |
+
02,0041,007,------------------------------------------------------------------------------
|
9 |
+
02,0041,008,เอก. พหุ.
|
10 |
+
02,0041,009,ป. เสฏฺี เสฏฺิโน เสฏฺี
|
11 |
+
02,0041,010,ทุ. เสฏฺึ เสฏฺินํ เสฏฺิโน เสฏฺี
|
12 |
+
02,0041,011,ต. เสฏฺินา เสฏฺีหิ เสฏฺีภิ
|
13 |
+
02,0041,012,จ. เสฏฺิสฺส เสฏฺิโน เสฏฺีนํ
|
14 |
+
02,0041,013,ปญฺ. เสฏฺิสฺมา เสฏฺิมฺหา เสฏฺีหิ เสฏฺีภิ
|
15 |
+
02,0041,014,ฉ. เสฏฺิสฺส เสฏฺิโน เสฏฺีนํ
|
16 |
+
02,0041,015,ส. เสฏฺิสฺมึ เสฏฺิมฺหิ เสฏฺีสุ
|
17 |
+
02,0041,016,อา. เสฏฺิ เสฏฺิโน เสฏฺี
|
18 |
+
02,0041,017,ศัพท์ที่เป็น อี การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน เสฏฺี.
|
19 |
+
02,0041,018,------------------------------------------------------------------------------
|
20 |
+
02,0041,019,กรี ช้าง ภาณี คนช่างพูด
|
21 |
+
02,0041,020,ตปสี คนมีตบะ โภคี คนมีโภคะ
|
22 |
+
02,0041,021,ทณฺฑี คนมีไม้เท้า มนฺตี คนมีความคิด
|
02/020042.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0042,001,เมธาวี คนมีปัญญา สุขี คนมีสุข
|
3 |
+
02,0042,002,สิขี นกยูง หตฺถี ช้าง
|
4 |
+
02,0042,003,วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และ การันต์
|
5 |
+
02,0042,004,๑ เอา อํ เป็น นํ ได้บ้าง.
|
6 |
+
02,0042,005,๒ อี อู ปุํ. อยู่หน้า เอา โย เป็น โน แล้ว รัสสะสระตัวหน้าเสีย
|
7 |
+
02,0042,006,หรือลบ โย ก็ได้.
|
8 |
+
02,0042,007,๓ วิภัตติ เอกวจนะ ทั้งปวง ยก ป. เสีย และ โย อยู่หลังต้องรัสสะ
|
9 |
+
02,0042,008,อี อู ใน ปุํ. อิต.
|
10 |
+
02,0042,009,[๕๐] อุ การันต์ ในปุํลิงค์ แจกอย่าง ครุ [ครู] ดังนี้ :-
|
11 |
+
02,0042,010,------------------------------------------------------------------------------
|
12 |
+
02,0042,011,เอก. พหุ.
|
13 |
+
02,0042,012,ป. ครุ ครโว ครู
|
14 |
+
02,0042,013,ทุ. ครุํ ครโว ครู
|
15 |
+
02,0042,014,ต. ครุนา ครูหิ ครูภิ
|
16 |
+
02,0042,015,จ. ครุสฺส ครุโน ครูนํ
|
17 |
+
02,0042,016,ปญฺ. ครุสฺมา ครุมฺหา ครูหิ ครูภิ
|
18 |
+
02,0042,017,ฉ. ครุสฺส ครุโน ครูนํ
|
19 |
+
02,0042,018,ส. ครุสฺมึ ครุมฺหิ ครูสุ
|
20 |
+
02,0042,019,อา. ครุ ครเว ครโว
|
02/020043.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0043,001,ศัพท์ที่เป็น อุ การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน ครุ
|
3 |
+
02,0043,002,---------------------------------------------------------------------------
|
4 |
+
02,0043,003,เกตุ ธง ภิกฺขุ ภิกษุ
|
5 |
+
02,0043,004,ชนฺตุ สัตว์เกิด ริปุ ข้าศึก
|
6 |
+
02,0043,005,ปสุ สัตว์ของเลี้ยง สตฺตุ ศัตรู
|
7 |
+
02,0043,006,พนฺธุ พวกพ้อง เสตุ สะพาน
|
8 |
+
02,0043,007,"พพฺพุ เสือปลา, แมว เหตุ เหตุ"
|
9 |
+
02,0043,008,วิธีเปลี่ยนวิภัตติทั้งปวง เหมือน อิ การันต์ แปลกแต่ อุ
|
10 |
+
02,0043,009,"ปุํลิงค์ อยู่หน้า เอา โย เป็น โว, อาลปนะ พหุ. เป็น เว แล้ว อุ"
|
11 |
+
02,0043,010,เป็น อ เท่านั้น.
|
12 |
+
02,0043,011,[๕๑] อู การันต์ ในปุํลิงค์ แจกอย่าง วิญฺู [ผู้รู้วิเศษ]
|
13 |
+
02,0043,012,ดังนี้ :-
|
14 |
+
02,0043,013,----------------------------------------------------------------------------
|
15 |
+
02,0043,014,เอก. พหุ.
|
16 |
+
02,0043,015,ป. วิญฺยู วิญฺุโน วิญฺญู
|
17 |
+
02,0043,016,ทุ. วิญฺญุํ วิญฺุโน วิญฺญู
|
18 |
+
02,0043,017,ต. วิญฺุนา วิญฺูหิ วิญฺญูภิ
|
19 |
+
02,0043,018,จ. วิญฺญุสฺส วิญฺุโน วิญฺูนํ
|
20 |
+
02,0043,019,ปญฺ. วิญฺุสฺมา วิญฺญุมฺหา วิญฺูหิ วิญฺญูภิ
|
21 |
+
02,0043,020,ฉ. วิญฺญุสฺส วิญฺุโน วิญฺูนํ
|
02/020044.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0044,001,ส. วิญฺุสฺมึ วิญฺุมฺหิ วิญฺญูสุ
|
3 |
+
02,0044,002,อา. วิญฺุ วิญฺญุโน วิญฺู
|
4 |
+
02,0044,003,ศัพท์ที่เป็น อู การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน วิญฺู.
|
5 |
+
02,0044,004,------------------------------------------------------------------------------
|
6 |
+
02,0044,005,อภิภู พระผู้เป็นยิ่ง เวทคู ผู้ถึงเวท
|
7 |
+
02,0044,006,กตญฺยู ผู้รู้อุปการะที่คนอื่นทำแล้ว สยมฺภู พระผู้เป็นเอง
|
8 |
+
02,0044,007,ปารคู ผู้ถึงฝั่ง
|
9 |
+
02,0044,008,วิธีเปลี่ยนวิภัตติทั้งปวง เหมือน อี การันต์ แปลกแต่ อํ คง
|
10 |
+
02,0044,009,เป็น อํ เท่านั้น.
|
11 |
+
02,0044,010,จบการันต์ ๕ ในปุํลิงค์เท่านี้.
|
12 |
+
02,0044,011,[๕๒] อา การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่าง กญฺา [นางสาว
|
13 |
+
02,0044,012,น้อย] ดังนี้ :-
|
14 |
+
02,0044,013,--------------------------------------------------------------------------------
|
15 |
+
02,0044,014,เอก. พหุ.
|
16 |
+
02,0044,015,ป. กญฺา กญฺาโย กญฺา
|
17 |
+
02,0044,016,ทุ. กญฺํ กญฺาโย กญฺา
|
18 |
+
02,0044,017,ต. กฺาย กฺาหิ กฺาภิ
|
19 |
+
02,0044,018,จ. กฺาย กฺานํ
|
20 |
+
02,0044,019,ปญฺ. กฺาย กฺาหิ กฺาภิ
|
21 |
+
02,0044,020,ฉ. กฺาย กฺานํ
|
02/020045.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0045,001,สฺ กญฺาย กฺายํ กฺาสุ
|
3 |
+
02,0045,002,อา. กฺเ กฺาโย กฺา
|
4 |
+
02,0045,003,ศัพท์ที่เป็น อา การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน กฺา
|
5 |
+
02,0045,004,---------------------------------------------------------------------
|
6 |
+
02,0045,005,อจฺฉรา นางอัปสร ตารา ดาว
|
7 |
+
02,0045,006,อาภา รัศมี ถวิกา ถุง
|
8 |
+
02,0045,007,อิกฺขณิกา หญิงแม่มด ทาริกา เด็กหญิง
|
9 |
+
02,0045,008,อีสา งอนไถ โทลา ชิงช้า
|
10 |
+
02,0045,009,อุกฺกา คบเพลิง ธารา ธารน้ำ
|
11 |
+
02,0045,010,อูกา เล็น นารา รัศมี
|
12 |
+
02,0045,011,เอสิกา เสาระเนียด ปญฺา ปัญญา
|
13 |
+
02,0045,012,โอชา โอชา พาหา แขน
|
14 |
+
02,0045,013,กจฺฉา รักแร้ ภาสา ภาษา
|
15 |
+
02,0045,014,คทา ตะบอง มาลา ระเบียบ
|
16 |
+
02,0045,015,ฆฏิกา ลิ่ม ลาขา ครั่ง
|
17 |
+
02,0045,016,เจตนา เจตนา สิลา ศาลา
|
18 |
+
02,0045,017,ฉุริกา กฤช สิลา ศิลา
|
19 |
+
02,0045,018,ชปา ชะบา หนุกา คาง
|
20 |
+
02,0045,019,วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์
|
21 |
+
02,0045,020,๑ เอา อํ เป็นนิคหิต แล้ว รัสสะ อา ข้างหน้า.
|
22 |
+
02,0045,021,๒ อา อยู่หน้า เอา วิภัตติ เอกวจนะ คือ นา ส สฺมา สฺมึ
|
02/020046.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0046,001,กับ อา เป็น อาย.
|
3 |
+
02,0046,002,๓ เอา สฺมึ เป็น ยํ บ้างก็ได้.
|
4 |
+
02,0046,003,๔ อา. เอก. เอา อา เป็น เอ.
|
5 |
+
02,0046,004,[๕๓] อิ การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่าง รตฺติ [ราตรี] ดังนี้ :-
|
6 |
+
02,0046,005,-----------------------------------------------------------------------------
|
7 |
+
02,0046,006,เอก. พหุ.
|
8 |
+
02,0046,007,ป. รตฺติ รตฺติโย รตฺตี
|
9 |
+
02,0046,008,ทุ. รตฺตึ รตฺติโย รตฺตี
|
10 |
+
02,0046,009,ต. รตฺติยา รตฺตีหิ รตฺตีภิ
|
11 |
+
02,0046,010,จ. รตฺติยา ตตฺตีนํ
|
12 |
+
02,0046,011,ปญฺ. รตฺติยา รตฺยา รตฺตีหิ รตฺตีภิ
|
13 |
+
02,0046,012,ฉ. รตฺติยา รตฺตีนํ
|
14 |
+
02,0046,013,ส. รตฺติยา รตฺติยํ รตฺยํ รตฺตีสุ
|
15 |
+
02,0046,014,อา. รตฺติ รตฺติโย รตฺตี
|
16 |
+
02,0046,015,ศัพท์ที่เป็น อิ การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน รตฺติ
|
17 |
+
02,0046,016,----------------------------------------------------------------------------
|
18 |
+
02,0046,017,อาณิ ลิ่ม กฏิ สะเอว
|
19 |
+
02,0046,018,อิทฺธิ ฤทธิ์ ขนฺติ ความอดทน
|
20 |
+
02,0046,019,อีติ จัญไร คณฺฑิ ระฆัง
|
21 |
+
02,0046,020,อุกฺขฺลิ หม้อข้าว ฉวิ ผิว
|
22 |
+
02,0046,021,อูมิ คลื่น ชลฺลิ สะเก็ดไม้
|
02/020047.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0047,001,ตนฺติ เส้นด้าย รติ ความยินดี
|
3 |
+
02,0047,002,นนฺทิ ความเพลิดเพลิน ลทฺธิ ลัทธิ
|
4 |
+
02,0047,003,ปญฺหิ ส้นเท้า วติ รั้ว
|
5 |
+
02,0047,004,มติ ความรู้ สตฺติ หอก
|
6 |
+
02,0047,005,ยฏฺิ ไม้เท้า สนฺธิ ความต่อ
|
7 |
+
02,0047,006,วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และ การันต์
|
8 |
+
02,0047,007,๑ อิ อี อุ อู อิตฺ. อยู่ข้างหน้า เอา วิภัตติ เอก. คือ นา ส สฺมา สฺมึ
|
9 |
+
02,0047,008,เป็น ยา.
|
10 |
+
02,0047,009,๒ อิ อิตฺ. อยู่ข้างหน้า เอา สฺมา เป็น อา เอา สฺมึ เป็น อํ แล้ว เอา
|
11 |
+
02,0047,010,อิ เป็น ย ได้บ้าง.
|
12 |
+
02,0047,011,[๕๔] อี การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่าง นารี [นาง] ดังนี้ :-
|
13 |
+
02,0047,012,เอก. พหุ.
|
14 |
+
02,0047,013,ป. นารี นาริโย นารี
|
15 |
+
02,0047,014,ทุ. นารี นาริยํ นาริโย นารี
|
16 |
+
02,0047,015,ต. นาริยา นารีหิ นารีภิ
|
17 |
+
02,0047,016,จ. นาริยา นารีนํ
|
18 |
+
02,0047,017,ปญฺ. นาริยา นารีหิ นารีภิ
|
19 |
+
02,0047,018,ฉ. นาริยา นารีนํ
|
20 |
+
02,0047,019,
|
21 |
+
02,0047,020,"๑. เอา อํ เป็น ยํ, โดยสูตรมูลกัจจายนะ ว่า อํ ยมีโต ปสญฺาโต แลสูตร"
|
22 |
+
02,0047,021,สทฺทนีติว่า อํ ยมิวณฺณปา วา.
|
02/020048.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0048,001,สฺ นาริยา นาริยํ นารีสุ
|
3 |
+
02,0048,002,อา. นาริ นาริโย นารี
|
4 |
+
02,0048,003,ศัพท์ที่เป็น อี การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน นารี
|
5 |
+
02,0048,004,-------------------------------------------------------------------------
|
6 |
+
02,0048,005,กุมารี เด็กหญิง ปวี แผ่นดิน
|
7 |
+
02,0048,006,"ฆรณี หญิงแม่เรือน มาตุลานี ป้า, น้า"
|
8 |
+
02,0048,007,ถี หญิง วีชนี พัด
|
9 |
+
02,0048,008,ธานี เมือง สิมฺพลี ไม้งิ้ว
|
10 |
+
02,0048,009,[๕๕] อุ การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่าง รชฺชุ [เชือก] ดังนี้ :-
|
11 |
+
02,0048,010,---------------------------------------------------------------------------
|
12 |
+
02,0048,011,เอก. พหุ.
|
13 |
+
02,0048,012,ป. รชฺชุ รชฺชุโย รชฺชู
|
14 |
+
02,0048,013,ทุ. รชฺชุํ รชฺชุโย รชฺชู
|
15 |
+
02,0048,014,ต. รชฺชุยา รชฺชูหิ รชฺชูภิ
|
16 |
+
02,0048,015,จ. รชฺชุยา รชฺชูนํ
|
17 |
+
02,0048,016,ปญฺ. รชฺชุยา รชฺชูหิ รชฺชูภิ
|
18 |
+
02,0048,017,ฉ. รชฺชุยา รชฺชูนํ
|
19 |
+
02,0048,018,ส. รชฺชุยา รชฺชุยํ รชฺชูสุ
|
20 |
+
02,0048,019,อา. รชฺชุ รชฺชุโย รชฺชู
|
02/020049.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0049,001,ศัพท์ที่เป็น อุ การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน รชฺชุ
|
3 |
+
02,0049,002,-----------------------------------------------------------------------
|
4 |
+
02,0049,003,อุรุ ทราย ยาคุ ข้าวต้ม
|
5 |
+
02,0049,004,กาสุ หลุม ลาวุ น้ำเต้า
|
6 |
+
02,0049,005,เธนุ แม่โคนม วิชฺชุ สายฟ้า
|
7 |
+
02,0049,006,[๕๖] อู การันต์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่าง วธู [หญิงสาว] ดังนี้ :-
|
8 |
+
02,0049,007,------------------------------------------------------------------------
|
9 |
+
02,0049,008,เอก. พหุ.
|
10 |
+
02,0049,009,ป. วธู วธุโย วธู
|
11 |
+
02,0049,010,ทุ. วธุํ วธุโย วธู
|
12 |
+
02,0049,011,ต. วธุยา วธูหิ วธูภิ
|
13 |
+
02,0049,012,จ. วธุยา วธูนํ
|
14 |
+
02,0049,013,ปญฺ. วธุยา วธูหิ วธูภิ
|
15 |
+
02,0049,014,ฉ. วธุยา วธูนํ
|
16 |
+
02,0049,015,ส. วธุยา วธุยํ วธูสุ
|
17 |
+
02,0049,016,อา. วธุ วธุโย วธู
|
18 |
+
02,0049,017,ศัพท์ที่เป็น อู การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือนวธู
|
19 |
+
02,0049,018,------------------------------------------------------------------------
|
20 |
+
02,0049,019,จมู เสนา วิรู เถาวัลย์
|
21 |
+
02,0049,020,ชมฺพู ไม้หว้า สรพู ตุ๊กแก
|
22 |
+
02,0049,021,"ภู แผ่นดิน, คิ้ว สินฺธู แม่น้ำสินธู"
|
23 |
+
02,0049,022,จบการันต์ ๕ ในอิตถีลิงค์ แต่เท่านี้.
|
02/020050.csv
ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
Book,Page,LineNumber,Text
|
2 |
+
02,0050,001,๕๗ อ การันต์ ในนปุํสกลิงค์ แจกอย่าง กุล ตระกูล
|
3 |
+
02,0050,002,ดังนี้ :-
|
4 |
+
02,0050,003,-----------------------------------------------------------------------
|
5 |
+
02,0050,004,เอก. พหุ.
|
6 |
+
02,0050,005,ป. กุลํ กุลานิ
|
7 |
+
02,0050,006,ทุ. กุลํ กุลานิ
|
8 |
+
02,0050,007,ต. กุเลน กุเลหิ กุเลภิ
|
9 |
+
02,0050,008,จ. กุลสฺส กุลาย กุลตฺถํ กุลานํ
|
10 |
+
02,0050,009,ปญฺ. กุลสฺมา กุลมฺหา กุลา กุเลหิ กุเลภิ
|
11 |
+
02,0050,010,ฉ. กุลสฺส กุลานํ
|
12 |
+
02,0050,011,ส. กุลสฺมึ กุลมฺหิ กุเล กุเลสุ
|
13 |
+
02,0050,012,อา. กุล กุลานิ
|
14 |
+
02,0050,013,ศัพท์ที่เป็น อ การันต์ เช่นนี้ แจกเหมือน กุล
|
15 |
+
02,0050,014,-------------------------------------------------------------------------
|
16 |
+
02,0050,015,"องฺค องค์ ฉตฺต ฉัตร, ร่ม"
|
17 |
+
02,0050,016,อิณ หนี้ ชล น้ำ
|
18 |
+
02,0050,017,อุทร ท้อง ตล พื้น
|
19 |
+
02,0050,018,โอฏฺ ริมฝีปาก ธน ทรัพย์
|
20 |
+
02,0050,019,"กฏฺ ไม้ ปณฺณ ใบไม้, หนังสือ"
|
21 |
+
02,0050,020,กมล ดอกบัว ผล ผลไม้
|
22 |
+
02,0050,021,"ฆร เรือน พล กำลัง,พล"
|
23 |
+
02,0050,022,"จกฺก จักร, ล้อ ภตฺต ข้าวสวย"
|