Dataset Preview
Full Screen Viewer
Full Screen
The full dataset viewer is not available (click to read why). Only showing a preview of the rows.
The dataset generation failed
Error code: DatasetGenerationError Exception: ArrowInvalid Message: Failed to parse string: 'REFACE' as a scalar of type int64 Traceback: Traceback (most recent call last): File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 1870, in _prepare_split_single writer.write_table(table) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/arrow_writer.py", line 622, in write_table pa_table = table_cast(pa_table, self._schema) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2292, in table_cast return cast_table_to_schema(table, schema) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2245, in cast_table_to_schema arrays = [ File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2246, in <listcomp> cast_array_to_feature( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 1795, in wrapper return pa.chunked_array([func(chunk, *args, **kwargs) for chunk in array.chunks]) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 1795, in <listcomp> return pa.chunked_array([func(chunk, *args, **kwargs) for chunk in array.chunks]) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 2102, in cast_array_to_feature return array_cast( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 1797, in wrapper return func(array, *args, **kwargs) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/table.py", line 1949, in array_cast return array.cast(pa_type) File "pyarrow/array.pxi", line 996, in pyarrow.lib.Array.cast File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/pyarrow/compute.py", line 404, in cast return call_function("cast", [arr], options, memory_pool) File "pyarrow/_compute.pyx", line 590, in pyarrow._compute.call_function File "pyarrow/_compute.pyx", line 385, in pyarrow._compute.Function.call File "pyarrow/error.pxi", line 154, in pyarrow.lib.pyarrow_internal_check_status File "pyarrow/error.pxi", line 91, in pyarrow.lib.check_status pyarrow.lib.ArrowInvalid: Failed to parse string: 'REFACE' as a scalar of type int64 The above exception was the direct cause of the following exception: Traceback (most recent call last): File "/src/services/worker/src/worker/job_runners/config/parquet_and_info.py", line 1417, in compute_config_parquet_and_info_response parquet_operations = convert_to_parquet(builder) File "/src/services/worker/src/worker/job_runners/config/parquet_and_info.py", line 1049, in convert_to_parquet builder.download_and_prepare( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 924, in download_and_prepare self._download_and_prepare( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 1000, in _download_and_prepare self._prepare_split(split_generator, **prepare_split_kwargs) File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 1741, in _prepare_split for job_id, done, content in self._prepare_split_single( File "/src/services/worker/.venv/lib/python3.9/site-packages/datasets/builder.py", line 1897, in _prepare_split_single raise DatasetGenerationError("An error occurred while generating the dataset") from e datasets.exceptions.DatasetGenerationError: An error occurred while generating the dataset
Need help to make the dataset viewer work? Make sure to review how to configure the dataset viewer, and open a discussion for direct support.
Book
int64 | Page
int64 | LineNumber
int64 | Text
string |
---|---|---|---|
1 | 1 | 1 | คำนำ |
1 | 1 | 2 | วิธีแสดงไวยากรณ์ของตันติภาษา [ ภาษามีแบบแผน ] นั้น |
1 | 1 | 3 | นักปราชญ์ทั้งหลายได้จัดไว้เป็นหมวดหมู่ละม้ายคล้ายคลึงกัน จนให้ |
1 | 1 | 4 | สันนิษฐานได้ว่า ภาษาเหล่านี้คงจะมีอริยกภาษาเป็นมูลเดิม จะขอ |
1 | 1 | 5 | กล่าวย่อ ๆ แต่ภาษาที่ข้าพเจ้าได้ทราบอยู่บ้างเล็กน้อย คือบาลีภาษา ๑ |
1 | 1 | 6 | สันสกฤตภาษา ๑ อังกฤษภาษา ๑ ในภาษาทั้ง ๓ นั้น ในบาลี |
1 | 1 | 7 | ภาษา นักปราชญ์ท่านจัดไวยากรณ์เป็นหมวด ๆ กัน ๙ หมวด ดังนี้ |
1 | 1 | 8 | อักขรวิธี แสดงอักษรพร้อมทั้งฐานกรณ์เป็นต้น ๑ สนธิ ต่ออักษร |
1 | 1 | 9 | ที่อยู่ในคำอื่น ให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน ๑ นาม แจกชื่อคน, สัตว์, |
1 | 1 | 10 | ที่, สิ่งของต่าง ๆ, สัพพนาม แจกศัพท์ ที่สำหรับใช้แทนนามที่ |
1 | 1 | 11 | ออกชื่อแล้ว เพื่อจะได้ไม้เรียกซ้ำให้รกโสต ๒ อย่างนี้พร้อมทั้งลิงคะ |
1 | 1 | 12 | วจนะ วิภัตติ ๑ สมาสย่อนามตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป ให้เป็นบทเดียวกัน ๑ |
1 | 1 | 13 | ตัทธิต ใช้ปัจจัยแทนศัพท์ให้น้อยลง มีเนื้อความได้เต็มที่ ๑ อาขยาต |
1 | 1 | 14 | แจกกิริยาศัพท์ พร้อม วจนะ บุรุษ วิภัตติ กาล บอก กัตตุ |
1 | 1 | 15 | กรรม และภาพ ๑ กฤต ใช้ปัจจัยเป็นเครื่องกำหนดรู้สาธนะหรือ |
1 | 1 | 16 | กาล ๑ อุณณาทิ มีวิธีใช้ปัจจัยคล้ายกฤต แต่มักเป็นปัจเจกปัจจัย |
1 | 1 | 17 | โดยมาก ๑ การก แสดงลักษณะของคำพูด ๑ ถ้านับรวมทั้ง |
1 | 1 | 18 | ฉันทลักษณะที่ท่านจัดไว้ เป็นหมวดหนึ่งต่างหาก มิได้สงเคราะห์เข้า |
1 | 1 | 19 | ในมูลไวยากรณ์ก็เป็น ๑๐ หมวด. |
1 | 1 | 20 | ในสันสกฤตภาษา ก็ไม่สู้จะต่างจากบาลีภาษา ต่างกันเล็ก |
1 | 1 | 21 | น้อย ในสันสกฤต มีวจนะเป็น ๓ คือ เอกวจนะ คำพูดถึงคง หรือ |
1 | 2 | 1 | ของสิ่งเดียว ๑ ทวิวจนะ คำพูดถึงคนหรือของ ๒ สิ่ง ๑ พหุวจนะ |
1 | 2 | 2 | คำพูดถึงคนหรือของมาก ๑. ส่วนในบาลีภาษามีวจนะแต่ ๒ คือ |
1 | 2 | 3 | เอกวจนะ ๑ พหุวจนะ ๑ และในภาษาสันสกฤตมีวิภัตติอาขยาต ๑๐ |
1 | 2 | 4 | หมู่ ในบาลีภาษามีแต่ ๘ หมู่เป็นต้น. ในอังกฤษภาษา นักปราชญ์ชาว |
1 | 2 | 5 | ประเทศนั้น แบ่งไวยากรณ์ ( GRAMMAR ) ของตน เป็น ๔ ส่วน |
1 | 2 | 6 | เรียกชื่อว่า ORTHOGRAPHY สอนให้ว่าและเขียนถ้อยคำนั้น ๆ |
1 | 2 | 7 | ให้ถูกต้องตามตัวอักษรเหมือนกับอักขรวิธีในบาลีภาษา ๑ ETYMO- |
1 | 2 | 8 | LOGY แสดงประเภทแห่งถ้อยคำนั้น ๆ ที่ออกจากต้นเดิมของตน ๆ |
1 | 2 | 9 | เหมือนกับนามเป็นต้นในบาลีภาษา ๑ SYNTAX เรียบเรียงมาตรา |
1 | 2 | 10 | แห่งถ้อยคำนั้น ๆ ที่กล่าวมาในเอติโมโลยี ส่วนที่ ๑ แล้ว ให้เป็นประโยค |
1 | 2 | 11 | เหมือนกับการกในบาลีภาษา ๑ PROSODY แสดงวิธีอ่านเสียง |
1 | 2 | 12 | หนัก เบา ยาว สั้น ดัง ค่อย หยุดตามระยะที่สมควร และวิธีแต่งโคลง |
1 | 2 | 13 | กลอน เหมือนกับฉันทลักษณะในบาลีภาษา ๑ แต่ในเอติโมโลยีส่วน |
1 | 2 | 14 | ที่ ๒ นั้น แบ่งออกเป็นวจนวิภาค ๙ ส่วน คือ NOUN คำพูดที่เป็น |
1 | 2 | 15 | ชื่อคน , ที่, และสิ่งของ ตรงกันกับนามศัพท์ ๑ ADJECTIVE คำพูด |
1 | 2 | 16 | สำหรับเพิ่มเข้ากับนามศัพท์ เพื่อจะแสดงความดีหรือชั่วของนามศัพท์นั้น |
1 | 2 | 17 | ตรงกับคุณศัพท์หรือบทวิเศษ ๑ ARTICLE คำพูดสำหรับนำหน้า |
1 | 2 | 18 | นามศัพท์ เพื่อเป็นเครื่องหมายนามศัพท์ ที่คนพูดและคนเขียน |
1 | 2 | 19 | นิยมและไม่นิยม อาการคล้ายกับ เอก ศัพท์ ต ศัพท์ ที่สำเร็จรูป |
1 | 2 | 20 | เป็น เอโก เป็น โส แต่จะว่าเหมือนแท้ก็ไม่ได้ เพราะอาติกล A |
1 | 2 | 21 | หรือ AN ท่านไม่ได้สงเคราะห์เข้าในสังขยา มีคำใช้ในสังขยาที่ |
1 | 3 | 1 | แปลว่าหนึ่งต่างหาก ส่วนเอกศัพท์นี้ สงเคราะห์เข้าในสังขยา และ |
1 | 3 | 2 | อาติกล THE เล่า ก็ไม่เหมือน ต ศัพท์แท้ เพราะมีคำอื่นที่ใช้เหมือน |
1 | 3 | 3 | ต ศัพท์ อนึ่ง เอก ศัพท์และ ต ศัพท์นั้น เป็นศัพท์นาม อาติกลนี้ |
1 | 3 | 4 | ท่านมิได้สงเคราะห์เข้าในศัพท์นาม แต่นักปราชญ์ทั้งหลายชั้นหลัง ๆ |
1 | 3 | 5 | พิจารณาเห็นว่า อาติกลนี้ ไม่ต่างอะไรกับคุณศัพท์ [ คำพูดที่ ๒ ] |
1 | 3 | 6 | ไม่ควรจะยกเป็นแผนกหนึ่งต่างหาก จึงสงเคราะห์เข้าเสียในคุณศัพท์ |
1 | 3 | 7 | คงเหลือวจนวิภาคแต่ ๘ ส่วนเท่านั้น ๑, PRONOUN คำพูดสำหรับใช้ |
1 | 3 | 8 | แทนนามศัพท์ เพื่อจะได้ไม่ซึ่ง ๆ ซาก ๆ อันเป็นทีรำคาญโสต ตรงกัน |
1 | 3 | 9 | กับสัพพนาม ๑, VERB กิริยาศัพท์พร้อมวจนะ ( NUMBER ),บุรุษ |
1 | 3 | 10 | ( PERSON ) วิภัตติ ( MOOD ) กาล ( TENSE ) จัดเป็นสกัมมธาตุ |
1 | 3 | 11 | กัตตุกิริยา ( ACTIVE VERB ) กัมมกิริยา ( PASSIVE VERB ) |
1 | 3 | 12 | อกัมมธาตุ ( NEUTER VEREB ) อัพยยกิริยา ( INFINITIVE ) |
1 | 3 | 13 | กฤตกิริยา ( PARTICIPLE ) ๑ , ADVERB คำพูดสำหรับเพิ่มเข้ากับ |
1 | 3 | 14 | กิริยาศัพท์และคุณศัพท์ บางทีกับแอดเวิบเอง เพื่อจะแสดงศัพท์เหล่านั้น |
1 | 3 | 15 | ว่าเป็นอย่างไร ดีหรือชั่ว เร็วหรือช้า เป็นต้น เหมือนคุณศัพท์ |
1 | 3 | 16 | สำหรับเพิ่มเข้ากับนามศัพท์ฉะนั้น ตรงกับกิริยาวิเศษ และอัพยยศัพท์ |
1 | 3 | 17 | และอุปสัค ๑, PREPOSITION เป็นวิภัตติสำหรับวางหน้านามศัพท์ |
1 | 3 | 18 | หลังกิริยาศัพท์ด้วยกัน เพื่อจะแสดงให้ศัพท์นั้นมีเนื้อความ |
1 | 3 | 19 | เนื่องกัน แสดงอุทาหรณ์ในภาษาสยามเหมือนหนึ่งว่าศัพท์คือ เสื้อคน |
1 | 3 | 20 | มีความเป็น ๒ อย่าง ครั้นลง เปรโปสิชัน คือ ของ หน้านามศัพท์ |
1 | 3 | 21 | คือ คน ก็ได้ความเป็นอันเดียวกันว่า " เสื้อของคน " จะเทียบ |
1 | 4 | 1 | ด้วยบาลีภาษา หรือ สันสกฤตภาษา ก็ไม่ชัดความ เพราะภาษาทั้ง ๒ |
1 | 4 | 2 | ไม่ใช้เปรโปสิชันตรง เหมือนภาษาอังกฤษและภาษาสยามของเรา |
1 | 4 | 3 | ใช้เปลี่ยนที่สุดนามศัพท์นั้น ๆ เอง ตามความที่จะต้องลงเปรโปสิชัน |
1 | 4 | 4 | เหมือนภาษาลตินและภาษาคริก แต่ข้าพเจ้าเห็นหนังสือไวยากรณ์บาลี |
1 | 4 | 5 | และสันสกฤต ที่นักปราชญ์ชาวยุโรปแต่งไว้ ท่านแสดงเปรโปสิชันว่า |
1 | 4 | 6 | เป็นอุปสัค ข้าพเจ้ายังจับเหตุไม่ได้ เพราะเห็นวิธีที่ใช้ เปรโปสิชัน ใน |
1 | 4 | 7 | ภาษาอังกฤษอย่างหนึ่ง ใช้วิธีอุปสัคในภาษาบาลีอย่างหนึ่ง ไม่เหมือน |
1 | 4 | 8 | กัน ถ้าจะเทียบแล้ว เห็นว่าอุปสัคคล้ายแอดเวิบ คือกิริยาวิเศษ |
1 | 4 | 9 | เพราะนำหน้ากิริยา เพื่อจะแสดงกิริยานั้นให้ดีขึ้นหรือให้ชั่วลง จะเห็น |
1 | 4 | 10 | ง่ายกว่า ๑, CONJUNCTION คำพูดสำหรับต่อศัพท์หรือประโยคให้ |
1 | 4 | 11 | เนื่องกัน ตรงกับนิบาตบางพวกมี จ และ วา เป็นต้น ที่นักปราชญ์ |
1 | 4 | 12 | ชาวยุโรปให้ชื่อว่า PARTICLE OR INDECLINABLE ๑, |
1 | 4 | 13 | INTERJECTION คำพูดสำหรับแสดงความอัศจรรย์หรือความตกใจ |
1 | 4 | 14 | ตรงกันกับนิบาตบางพวกมี อโห เป็นต้น. |
1 | 4 | 15 | เอติโมโลยี ส่วนที่ ๒ ท่านแจกออกไปเป็น ๙ อย่างบ้าง |
1 | 4 | 16 | ๘ อย่างบ้าง ดังนี้. |
1 | 5 | 1 | บาลีไวยากรณ์ |
1 | 5 | 2 | บาลีไวยากรณ์นี้แบ่งเป็น ๔ ภาคก่อน คือ อักขรวิธี ๑ วจีวิภาค ๑ |
1 | 5 | 3 | วากยสัมพันธ์ ๑ ฉันทลักษณะ ๑. |
1 | 5 | 4 | [ ๑ ] อักขรวิธี ว่าด้วยอักษร จัดเป็น ๒ คือ สมัญญาภิธาน |
1 | 5 | 5 | แสดงชื่ออักษร ที่เป็นสระ และพยัญชนะ พร้อมทั้งฐานกรณ์ ๑ |
1 | 5 | 6 | สนธิ ต่ออักษรที่อยู่ในคำอื่น ให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน. |
1 | 5 | 7 | [ ๒ ] วจีวิภาค แบ่งคำพูดออกเป็น ๖ ส่วน คือ นาม ๑ |
1 | 5 | 8 | อัพยยศัพท์ ๑ สมาส ๑ ตัทธิต ๑ อาขยาต ๑ กฤต ๑. |
1 | 5 | 9 | [ ๓ ] วากยสัมพันธ์ ว่าด้วยการก และประพันธ์ผูกคำพูดที่ |
1 | 5 | 10 | แบ่งไว้ในวจีวิภาค ให้เข้าเป็นประโยคอันเดียวกัน. |
1 | 5 | 11 | [ ๔ ] ฉันทลักษณะ แสดงวิธีแต่งฉันท์ คือคาถาที่เป็น |
1 | 5 | 12 | วรรณพฤทธิ์และมาตราพฤทธิ์. |
1 | 5 | 13 | --------------------- |
1 | 5 | 14 | อักขรวิธี ภาคที่ ๑ |
1 | 5 | 15 | สมัญญาภิธาน |
1 | 5 | 16 | [ ๑ ] เนื้อความของถ้อยคำทั้งปวง ต้องหมายรู้กันด้วยอักขระ |
1 | 5 | 17 | เมื่ออักขระวิบัติแล้ว ก็เข้าใจเนื้อความยาก เพราะฉะนั้น ความเป็น |
1 | 5 | 18 | ผู้ฉลาดในอักขระ จึงมีอุปการะมาก คำว่าอักขระ ๆ นั้น ว่าตามที่ |
1 | 5 | 19 | นักปราชญ์ท่านประสงค์ ก็เป็น ๒ อย่าง เป็นเสียงอย่าง ๑ เป็น |
1 | 6 | 1 | หนังสืออย่าง ๑ มีเนื้อความเป็นอันเดียวกัน เสียงก็ดี ตัวหนังสือ |
1 | 6 | 2 | ก็ดี ที่เป็นของชาติใด ภาษาใด ก็พอใช้ได้ครบสำเนียง ในชาตินั้น |
End of preview.
Multi-File CSV Dataset
คำอธิบาย
หนังสือเปรียญ ประโยค ๑ ถึง ๙ จำนวน ๘๐ เล่ม
ชุดข้อมูลนี้ประกอบด้วยไฟล์ CSV หลายไฟล์
01/010001.csv
: เล่ม 1 หน้า 101/010002.csv
: เล่ม 1 หน้า 2- ...
06/060001.csv
: เล่ม 6 หน้า 1- ...
จะมีเพียงบางเล่มที่เริ่มแปลกๆ ตามด้านล่าง
- เล่ม 2 เริ่มจาก
02/020029.csv
ไปถึง02/020106.csv
- เล่ม 3 เริ่มจาก
03/030107.csv
ไปถึง03/030156.csv
- เล่ม 4 เริ่มจาก
04/040151.csv
ไปถึง04/040214.csv
- เล่ม 5 เริ่มจาก
05/050215.csv
ไปถึง05/050258.csv
- เล่ม 52 เริ่มจาก
52/520227.csv
ไปถึง52/520408.csv
- เล่ม 53 เริ่มจาก
53/530409.csv
ไปถึง53/530678.csv
- เล่ม 54 เริ่มจาก
54/540715.csv
ไปถึง54/541001.csv
คำอธิบายของแต่ละเล่ม
- เล่ม ๑: ประโยค๑ - บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
- เล่ม ๒: ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพพยศัพท์
- เล่ม ๓: ประโยค๑ - บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต
- เล่ม ๔: ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก์
- เล่ม ๕: ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ์ วากยสัมพันธ์
- เล่ม ๖: ประโยค๑ - อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒
- เล่ม ๗: ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
- เล่ม ๘: ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์
- เล่ม ๙: ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณี สมาสและตัทธิต
- เล่ม ๑๐: ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ อาขยาต
- เล่ม ๑๑: ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตก์ และกิริยากิตก์
- เล่ม ๑๒: ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๑
- เล่ม ๑๓: ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒
- เล่ม ๑๔: ประโยค๑ - ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
- เล่ม ๑๕: ประโยค๒ - ธมฺมปทฏฐกถา (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๑๖: ประโยค๒ - ธมฺมปทฏฺฐกถา (ทุติโย ภาโค)
- เล่ม ๑๗: ประโยค๒ - ธมฺมปทฏฺฐกถา (ตติโย ภาโค)
- เล่ม ๑๘: ประโยค๒ - ธมฺมปทฏฺฐกถา (จตุตฺโถ ภาโค)
- เล่ม ๑๙: ประโยค๒ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๑
- เล่ม ๒๐: ประโยค๒ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๒
- เล่ม ๒๑: ประโยค๒ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๓
- เล่ม ๒๒: ประโยค๒ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๔
- เล่ม ๒๓: ประโยค๒ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๑
- เล่ม ๒๔: ประโยค๒ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๒
- เล่ม ๒๕: ประโยค๒ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๓
- เล่ม ๒๖: ประโยค๒ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๔
- เล่ม ๒๗: ประโยค๓ - ธมฺมปทฏฺฐกถา (ปญฺจโม ภาโค)
- เล่ม ๒๘: ประโยค๓ - ธมฺมปทฏฺฐกถา (ฉฏโฐ ภาโค)
- เล่ม ๒๙: ประโยค๓ - ธมฺมปทฏฺฐกถา (สตฺตโม ภาโค)
- เล่ม ๓๐: ประโยค๓ - ธมฺมปทฏฺฐกถา (อฏฺฐโม ภาโค)
- เล่ม ๓๑: ประโยค๓ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๕
- เล่ม ๓๒: ประโยค๓ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๖
- เล่ม ๓๓: ประโยค๓ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๗
- เล่ม ๓๔: ประโยค๓ - พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๘
- เล่ม ๓๕: ประโยค๓ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๕
- เล่ม ๓๖: ประโยค๓ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๖
- เล่ม ๓๗: ประโยค๓ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๗
- เล่ม ๓๘: ประโยค๓ - คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๘
- เล่ม ๓๙: ประโยค๓ - อันตรคาถาธรรมบทแปล
- เล่ม ๔๐: ประโยค๔ - มงฺคลตฺถทีปนี (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๔๑: ประโยค๔ - มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๑
- เล่ม ๔๒: ประโยค๔ - มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๒
- เล่ม ๔๓: ประโยค๕ - มงฺคลตฺถทีปนี (ทุติโย ภาโค)
- เล่ม ๔๔: ประโยค๕ - มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๓
- เล่ม ๔๕: ประโยค๕ - มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๔
- เล่ม ๔๖: ประโยค๕ - มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๕
- เล่ม ๔๗: ประโยค๖ - สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฺฐกถา (ตติโย ภาโค)
- เล่ม ๔๘: ประโยค๖ - สมฺนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถาย อตฺถโยชนา (ทุติโย ภาโค)
- เล่ม ๔๙: ประโยค๖ - สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา (ตติโย ภาโค)
- เล่ม ๕๐: ประโยค๖ - สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา (จตุตฺโถ ภาโค)
- เล่ม ๕๑: ประโยค๖ - ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๑
- เล่ม ๕๒: ประโยค๖ - ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๒
- เล่ม ๕๓: ประโยค๖ - จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา
- เล่ม ๕๔: ประโยค๖ - ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา
- เล่ม ๕๕: ประโยค๗ - สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฺฐกถา (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๕๖: ประโยค๗ - สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฺฐกถา (ทุติโย ภาโค)
- เล่ม ๕๗: ประโยค๗ - สมนฺตปาสาทิกาย นาม วินยฏฺฐกถา อตฺถโยชนา (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๕๘: ประโยค๗ - สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๕๙: ประโยค๗ - ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๑
- เล่ม ๖๐: ประโยค๗ - ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๒
- เล่ม ๖๑: ประโยค๗ - ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๓
- เล่ม ๖๒: ประโยค๗ - ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๑
- เล่ม ๖๓: ประโยค๗ - ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๒
- เล่ม ๖๔: ประโยค๘ - วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๖๕: ประโยค๘ - วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ทุติโย ภาโค)
- เล่ม ๖๖: ประโยค๘ - วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺว (ตติโย ภาโค)
- เล่ม ๖๗: ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๑
- เล่ม ๖๘: ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒
- เล่ม ๖๙: ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๑
- เล่ม ๗๐: ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๒
- เล่ม ๗๑: ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๑
- เล่ม ๗๒: ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ)
- เล่ม ๗๓: ประโยค๘ - ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย มหาฎีกาสมฺมตาย (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๗๔: ประโยค๘ - ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคิคสํวณฺณนาย มหาฎีกาสมฺมตาย (ทุติโย ภาโค)
- เล่ม ๗๕: ประโยค๘ - ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย มหาฎีกาสมฺมตาย (ตติโย ภาโค)
- เล่ม ๗๖: ประโยค๙ - อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา (ปฐโม ภาโค)
- เล่ม ๗๗: ประโยค๙ - อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา (ทุติโย ภาโค)
- เล่ม ๗๘: ประโยค๙ - อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา (ตติโย ภาโค)
- เล่ม ๗๙: ประโยค๙ - อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา
- เล่ม ๘๐: ประโยค๙ - อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
ตัวอย่างการใช้งาน
from datasets import load_dataset
# Specify the data files
data_files = {
"010001": "01/010001.csv",
"010002": "01/010002.csv"
}
dataset = load_dataset("uisp/buddhist-theology", data_files=data_files)
print("Keys in loaded dataset:", dataset.keys()) # Should show keys for splits, like {'010001', '010002'}
# Convert a split to pandas for further processing
df_010001 = dataset['010001'].to_pandas()
print(df_010001.head())
df_010002 = dataset['010002'].to_pandas()
print(df_010002.head())
ตัวอย่างผลลัพธ์
Book Page LineNumber Text
0 1 1 1 คำนำ
1 1 1 2 วิธีแสดงไวยากรณ์ของตันติภาษา [ ภาษามีแบบแผน ]...
2 1 1 3 นักปราชญ์ทั้งหลายได้จัดไว้เป็นหมวดหมู่ละม้ายคล...
3 1 1 4 สันนิษฐานได้ว่า ภาษาเหล่านี้คงจะมีอริยกภาษาเ...
4 1 1 5 กล่าวย่อ ๆ แต่ภาษาที่ข้าพเจ้าได้ทราบอยู่บ้างเล...
Book Page LineNumber Text
0 1 2 1 ของสิ่งเดียว ๑ ทวิวจนะ คำพูดถึงคนหรือของ ๒ ...
1 1 2 2 คำพูดถึงคนหรือของมาก ๑. ส่วนในบาลีภาษามีวจนะ...
2 1 2 3 เอกวจนะ ๑ พหุวจนะ ๑ และในภาษาสันสกฤตมีวิภั...
3 1 2 4 หมู่ ในบาลีภาษามีแต่ ๘ หมู่เป็นต้น. ในอังก...
4 1 2 5 ประเทศนั้น แบ่งไวยากรณ์ ( GRAMMAR ) ของตน ...
ขอขอบคุณ
http://www.learntripitaka.com/
สพพทานํ ธมมทานํ ชินาติ การให้ธรรมชนะการให้ทั้งปวง
- Downloads last month
- 6