Book,Page,LineNumber,Text 45,0004,001,แตกไซร้ ถ้าว่า เขามาสู่ความเป็นมนุษย์ เกิดในที่ใด ๆ ในภายหลัง ก็ 45,0004,002,จะเป็นผู้มีสกุลสูงในที่นั้น ๆ มาณพ ข้อที่บุคคลเป็นผู้ไม่เย่อหยิ่ง ไม่ถือ 45,0004,003,ตัว ฯ ล ฯ ย่อมบูชา บุคคลผู้ที่ควรบูชา เป็นปฏิปทาอันเป็นไปเพื่อมี 45,0004,004,"สกุลสูง "" ดังนี้." 45,0004,005,บาลีจูฬกัมมวิภังคสูตร ในจตุตถวรรค อุปริปัณณาสก์. 45,0004,006,"[๒๖๓] นัยอันมาในอรรถกถาจูฬกัมมวิภังคสูตรนั้นว่า "" บทว่า" 45,0004,007,อภิวาเทตพฺพํ คือ บุคคลผู้ควรแก่การอภิวาท ได้แก่ พระพุทธเจ้า 45,0004,008,พระปัจเจกพุทธะ หรือพระอริยสาวก. แม้ในบุคคลที่ควรลุกรับเป็นต้น 45,0004,009,ก็นัยนี้เหมือนกัน. 45,0004,010,บทว่า สมตฺเตน คือ อันตนให้บริบูรณ์แล้ว. 45,0004,011,บทว่า สมาทินฺเนน คือ อันตนถือเอาแล้ว คือลูบคลำแล้ว. 45,0004,012,บทว่า ยทิทํ ความว่า กรรมคือความเป็นผู้กระด้างมีความถือ 45,0004,013,"ตัวจัด นี้ใด ปฏิปทานี่. """ 45,0004,014,"ฎีกาจูฬกัมมวิภังคสูตรนั้นว่า "" บทว่า สมตฺเตน คือ อันอาจ" 45,0004,015,ได้แก่สามารถ. อธิบายว่า เพราะกรรมอันตนทำ คือสั่งสมไว้แล้ว โดย 45,0004,016,อาการที่กรรมนั้นสามารถในอันจะให้ผล. ก็กรรมเช่นนั้น ชื่อว่าไม่ 45,0004,017,บกพร่องโดยกิจของตน เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า 45,0004,018,""" อันตนให้บริบูรณ์ "" ดังนี้ การถือเอาคือการลูบคลำด้วยตัณหาและทิฏฐิ" 45,0004,019,ชื่อว่า สมาทาน ในบทว่า สมาทินฺเนน นี้ ฉะนั้นพระอรรถกถาจารย์ 45,0004,020,"จึงกล่าวคำว่า "" อันตนถือเอาแล้ว คือลูบคลำแล้ว. "" ที่ชื่อว่า ปฏิปทา" 45,0004,021, 45,0004,022,๑. ป. สู. ๓/๖๔๘.