File size: 3,969 Bytes
6bd72a3
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
Book,Page,LineNumber,Text
46,0006,001,"อินทรีย์ทั้งหลาย."" "
46,0006,002,"ปกรณ์<SUP>๑</SUP>วิเสสชื่อวิสุทธิมรรคว่า  "" หลายบทว่า  <B>จกฺขุนา  รูปํ  ทิสฺวา</B>"
46,0006,003,ความว่า  เห็นรูปด้วยวิญญาณอันอาศัยจักษุซึ่งสามารถในการเห็นรูปอัน
46,0006,004,ได้โวหารว่า     จักษุ    ด้วยอำนาจแห่งเหตุ.   บทว่า  <B>น   นิมิตฺตคฺคาหี</B>
46,0006,005,ความว่า   ภิกษุไม่ยึดถือซึ่งสตรีนิมิตและบุรุษนิมิต   หรือนิมิตอันเป็น
46,0006,006,ที่ตั้งแห่งกิเลสมีสุภนิมิตเป็นต้น   คือย่อมตั้งอยู่ในนิมิตสักว่าเห็นแล้ว
46,0006,007,เท่านั้น.   บทว่า  <B>นานุพฺยฺชนคฺคาหี</B>   ความว่า   ไม่ยึดถือซึ่งอาการอัน
46,0006,008,ต่างโดยมือ  เท้า  การหัวเราะ   ยิ้มแย้ม  เจรจา  และ   เหลียวดูเป็นต้น
46,0006,009,อันได้โวหารว่า  อนุพยัญชนะ  เพราะปรากฏเนือง ๆ  คือการกระทำ
46,0006,010,ความเป็นของปรากฏแห่งกิเลสทั้งหลาย  ได้แก่  ถือเอาซึ่งอวัยวะน้อย
46,0006,011,ใหญ่อันมีอยู่ในสรีระนั้นอย่างเดียว.   ในคำว่า  <B>ยตฺวาธิกรณเมนํ</B>  เป็น
46,0006,012,ต้น  พึงทราบวินิจฉัยดังนี้ :  ธรรมมีอภิชฌาเป็นต้นเหล่านั่น  พึงซ่าน
46,0006,013,ไปตาม   คือติดตามบุคคลผู้นั้น  คือผู้ไม่สำรวมอินทรีย์คือจักษุ ได้แก่
46,0006,014,เป็นผู้ไม่ปกปิดจักษุทวารด้วยบานประตูคือสติอยู่  เพราะเหตุใด ?  คือ
46,0006,015,เพราะเหตุแห่งการไม่สำรวมอินทรีย์คือจักษุใด ?  หลายบทว่า  <B>ตสฺส
46,0006,016,สํวราย ปฏิปชฺชติ</B>    ความว่า   ย่อมปฏิบัติเพื่อประโยชน์  แก่การปิด
46,0006,017,อินทรีย์คือจักษุนั้น  ด้วยบานประตูคือสติ.  ก็ภิกษุผู้ปฏิบัติอยู่โดยอาการ
46,0006,018,อย่างนั้นแล  พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกว่า   ย่อมรักษาอินทรีย์คือจักษุ
46,0006,019,"บ้าง, ว่า    ""ย่อมถึงความสำรวมในอินทรีย์คือจักษุบ้าง."""
46,0006,020,"[๔๗๕]  ฎีกา<SUP>๒</SUP>วิสุทธิมรรคว่า   ""บทว่า    <B>การณวเสน</B>  คือ   ด้วย"
46,0006,021,
46,0006,022, ๑.  วิ.  ม.     ๑/๒๔.      ๒.  ป.   มฺ.      ๗/๖๙.