File size: 3,728 Bytes
6bd72a3
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
Book,Page,LineNumber,Text
42,0008,001,ธรรมสมควรแก่นวโลกุตตรธรรม.   ในบุคคล  ๔  จำพวกนั้น   จำพวก 
42,0008,002,"ต้น   พระผู้มีพระภาคตรัสหมายเอาผู้มีสุตะน้อย   และเป็นผู้ทุศีล, "
42,0008,003,"จำพวกที่  ๒  มีสุตะน้อย  (แต่)  เป็นผู้สิ้นอาสวะ,  จำพวกที่  ๓  มีสุตะ"
42,0008,004,"มาก (แต่)  เป็นผู้ทุศีล,  จำพวกที่ ๔  มีสุตะมาก  และเป็นผู้สิ้น"
42,0008,005,"อาสวะ."""
42,0008,006,"อรรถกถาแห่งสูตรนั้น  ว่า  "" บทว่า  <B>อสมาหิโต</B>  คือไม่ทำให้"
42,0008,007,บริบูรณ์.   บาทคาถาว่า  <B>สีลโต  จ  สุเตน  จ</B>คือ  ทั้งโดยส่วนศีล
42,0008,008,"ทั้งโดยส่วนสุตะ,  อธิบายว่า  บัณฑิตทั้งหลายย่อมติเตียนเขาอย่างนี้"
42,0008,009,"ว่า  ""  ผู้นี้ทุศีล (ทั้ง)  มีสุตะน้อย.""   บาทคาถาว่า   <B>ตสฺส  สมฺปชฺชเต"
42,0008,010,สุตํ</B>  ความว่า  เพราะกิจคือสุตะอันบุคคลนั้นทำแล้วด้วยสุตะนี้   ฉะนั้น
42,0008,011,สุตะของเขาจึงชื่อว่าถึงพร้อม.   สองบทว่า   <B>นาสฺส   สมฺปชฺชเต</B>
42,0008,012,ความว่า   เพราะเขาไม่ทำกิจคือสุตะ   สุตะจึงไม่ถึงพร้อม.   บทว่า
42,0008,013,<B>ธรฺมธรํ</B>  ได้แก่เป็นผู้รับรองธรรมคือสุตะ.   บทว่า  <B>สปฺปฺํ</B>   คือมี
42,0008,014,ปัญญาดี.  บาทคาถาว่า  <B>นิกฺขํ  ชมฺพูนทสฺเสว</B>   ความว่า  ทองคำ
42,0008,015,"ธรรมชาติ  เรียกกันว่า  ทองชมพูนุท,  ดุจแท่งทองชมพูนุทนั้น,"
42,0008,016,อธิบายว่า  เหมือนลิ่มทองหนัก  ๕  สุวรรณ<SUP>๑</SUP>.
42,0008,017,แม้พระอานนทเถระ  อาศัยความที่ตนเป็นพหุสูต   จึงถึงความ
42,0008,018,"เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญว่า  ""ภิกษุทั้งหลาย  อานนท์เป็น"
42,0008,019,"ยอดของภิกษุสาวกทั้งหลายของเราผู้เป็นพหุสูต<SUP>๒</SUP>.""   อนึ่งภิกษุผู้เป็น"
42,0008,020,พหุสูต  ย่อมเป็นผู้มีลาภเกิดขึ้นโดยไม่ยาก.  ในข้อนั้น  มีเรื่องดังต่อ
42,0008,021,
42,0008,022,๑.  ตามมาตรา  ๕ สุวรรณ  เป็น  ๑  นิกขะ.    ๒.  องฺ. เอก. ๒๐/๓๒.