File size: 3,620 Bytes
6bd72a3 |
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 |
Book,Page,LineNumber,Text
10,0033,001,อ ปัจจัย เอยฺย วิภัตติ เป็นต้น.
10,0033,002,<B>ธาตุมี ๓ คำ</B> เช่น อุ. ว่า กิลมติ ย่อมลำบาก เป็น กิลมฺ
10,0033,003,"ธาตุ ในความลำบาก อ ปัจจัย ติ วิภัตติ, ชาคโรติ ย่อมตื่น เป็น"
10,0033,004,ชาครฺ ธาตุ ในความตื่น โอ ปัจจัย ติ วิภัตติ เป็นต้น.
10,0033,005,พึงสังเกตในที่นี้ว่า ปัจจัย กับ วิภัตติ ต้องลงในธาตุทุกตัว
10,0033,006,จะขาดเสียมิได้เลย ส่วนอุปสัค นามศัพท์ หรือ นิบาตบางตัวนั้น ไม่
10,0033,007,เป็นของจำเป็น ซึ่งจะไม่ใช้นำหน้าเลยก็ได้ นอกจากในที่บางแห่ง
10,0033,008,ซึ่งต้องการแปลความหมายของธาตุ หรือเพื่อให้เนื้อความแรง หรือ
10,0033,009,เด่นชัดขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ ยังมีธาตุบางตัวที่เปลี่ยนแปลงไปผิดรูป
10,0033,010,เดิมก็มี เช่น อุ. ว่า ติฏฺติ ย่อมยืน า ธาตุ ในความยืน อ ปัจจัย
10,0033,011,"ติ วิภัตติ แปลง า ธาตุ เป็น ติฏฺ, ปสฺสติ ย่อมเห็น ทิสฺ ธาตุ"
10,0033,012,ในความเห็น อ ปัจจัย ติ วิภัตติ แปลง ทิสฺ ธาตุ เป็น ปสฺส เป็นต้น.
10,0033,013,บางคราวธาตุที่เป็น รัสสะ ต้อง ทีฆะ หรือ พฤทธิ บ้างก็มี เช่น ทูเสติ
10,0033,014,ย่อมประทุษร้าย ทุสฺ ธาตุ ในความประทุษร้าย เร ปัจจัย ติ วิภัตติ
10,0033,015,"ลบ ณ เสีย คงไว้แต่ เอ ทีฆะ อุ ต้นธาตุ เป็น อุ, เทเสติ ย่อมแสดง"
10,0033,016,ทิสฺ ธาตุ เณ ปัจจัย ลบ ณ คง เอ ไว้ พฤทธิ อิ ที่ ทิ เป็น เอ เป็นต้น.
10,0033,017,นอกจากนี้ ยังมีวิธีเปลี่ยนแปลงอีกมากมาย อันจะวางหลักให้แน่นอน
10,0033,018,หรือตายตัวลงไปหาได้ไม่ ต้องอาศัยที่นักเรียนหมั่นสังเกตและจดจำ
10,0033,019,เป็นต้น ๆ ไป ซึ่งจะนำมาแสดงไว้ในตอนท้ายที่กล่าวถึงธาตุอาขยาต
10,0033,020,พอเป็นตัวอย่างเฉพาะที่ใช้อยู่โดยมากเท่านั้น.
|