File size: 2,991 Bytes
6bd72a3 |
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 |
Book,Page,LineNumber,Text
01,0025,001,"เป็น ปุลฺลิงฺคํ, สํ-ลกฺขณา เป็น สลฺลกฺขณา เป็นต้น, ถ้าสระอยู่"
01,0025,002,เบื้องปลาย แปลงนิคคหิตเป็น ม และ ท ดังนี้ ตํ-อหํ เป็น ตมหํ
01,0025,003,"พฺรูมิ พฺราหฺมณํ, เอตํ-อโวจ เป็น เอตทโวจ."
01,0025,004,[ ๓๓ ] นิคคหิตอาคมนั้นดังนี้ เมื่อสระก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่
01,0025,005,เบื้องหลัง ลงนิคคหิตได้บ้าง อุ. ว่า จกฺขุ-อุทปาทิ เป็น จกฺขุํ-
01,0025,006,"อุทปาทิ, อว-สิโร เป็น อวํสิโร เป็นต้น."
01,0025,007,[ ๓๔ ] ปกตินิคคหิตนั้น ก็ไม่วิเศษอันใด ควรจะลบหรือแปลง
01,0025,008,หรือลงนิคคหิตอาคมได้ ไม่ทำอย่างนั้น ปกติไว้ตามรูปเดิม เหมือน
01,0025,009,คำว่า ธมฺมํ จเร ก็คงไว้ตามเดิม ไม่อาเทสนิคคหิตเป็น ให้เป็น
01,0025,010,ธมฺมฺจเร เป็นต้น เท่านั้น.
01,0025,011,วิธีทำสนธิในบาลีภาษานั้น ท่านไม่นิยมให้เป็นแบบเดียว ซึ้ง
01,0025,012,จะยักเยื้องเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เหมือนวิธีสนธิในสันสกฤตภาษา ผ่อน
01,0025,013,ให้ตามอัธยาศัยของผู้ทำ จะน้อมไปให้ต้องตามสนธิกิริโยปกรณ์
01,0025,014,อย่างหนึ่งอย่างใดที่ตนชอบใจ ถ้าไม่ผิดแล้ว ก็เป็นอันใช้ได้ ส่วน
01,0025,015,ในสันสกฤตนั้น มีวิธีข้อบังคับเป็นแบบเดียว ยักเยื้องเป็นอย่างอื่น
01,0025,016,ไปไม่ได้ จะเลือกเอาวิธีนั้น ซึ่งจะใช้ได้ในบาลีภาษามาเขียนไว้ที่นี้
01,0025,017,เพื่อจะได้เป็นเครื่องประดับปัญญาของผู้ศึกษา แต่พอสมควร.
|