query_id
stringlengths
1
4
query
stringlengths
11
185
positive_passages
listlengths
1
3
negative_passages
listlengths
0
30
0
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิดสอนกี่สาขาวิชา?
[ { "docid": "12146#1", "text": "ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีศูนย์กลางบริหารงานอยู่ที่เขตพื้นที่ขามเรียง ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม และเขตพื้นที่นาสีนวน ที่ตั้งของ คณะเทคโนโลยี คณะสัตวแพทยศาสตร์ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา [2]:5 ใน 20 คณะหรือเทียบเท่า [2]:69 และขยายโอกาสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี [2]:7 นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม [2]:7", "title": "มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" } ]
[ { "docid": "351979#1", "text": "เดิมมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเปิดสอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขานิติศาสตร์ และสาขาวิชารัฐศาสตร์ ในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองรับผิดชอบในสาขารัฐประศาสนศาสตร์และสาขาวิชานิติศาสตร์ ส่วนภาควิชาสังคมวิทยารับผิดชอบสาขาวิชารัฐศาสตร์ ", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "11905#13", "text": "ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 มหาวิทยาลัยได้ขยายการรับนักศึกษาเพิ่มขึ้นในสาขาวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์(มนุษยนิเวศศาสตร์) และสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ ปีการศึกษา 2526(ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์) มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนสาขาวิชารัฐศาสตร์ ปีการศึกษา 2527 เปิดสอนสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ในปีการศึกษา 2538 มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และในปี พ.ศ. 2544 ได้เปิดสอนสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ เพิ่มขึ้นอีกสาขาวิชาหนึ่ง รวมเป็น 12 สาขาวิชา", "title": "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" }, { "docid": "351979#8", "text": "หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ เป็นหลักสูตรสาขาวิชาที่เปิดสอนวิชารัฐศาสตร์ ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2550 หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม เป็นหลักสูตรรัฐศาสตร์ 1 ใน 3 หลักสูตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม) และยังเป็นหลักสูตรรัฐศาสตร์ 1 ใน 3 หลักสูตรที่เปิดทำการเรียนการสอนอยู่ใน มหาวิทยาลัยราชภัฎอีกด้วย (สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์และ หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม))", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "34847#15", "text": "เรียบเรียงตำราหลายเล่ม เพื่อให้ลูกศิษย์ได้ศึกษา พัฒนาวิชาการดนตรีให้เทียบเท่าอารยประเทศ เช่น วิชาการประพันธ์ดนตรีแจ๊ส (JAZZ COMPOSITION) วิชาการประสานเสียงดนตรีแจ๊ส (JAZZ HARMONY) \nเนื่องจากมีผลงานดนตรีด้านต่างๆ และเป็นผู้ให้การส่งเสริมการดนตรีให้แพร่หลายมาโดยตลอดจึงทำให้ในปี 2535 จึงได้รับคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) ปี พ.ศ. 2540 ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาดุริยางคศาสตร์สากล จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ 24 มกราคม 2548 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ ในสาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ คณะศิลปกรรมศ่าสตร์ ม.มหาสารคาม\nปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ บริษัท สยามดนตรียามาฮ่า จำกัด และเป็นกรรมการและที่ปรึกษาของหน่วยงานราชการและเอกชนหลายแห่ง เป็นอาจารย์สอน เป็นที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี Jazz ของคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้อำนวยการโรงเรียนดนตรีสยามกลการ และสอนวิชา JAZZ COMPOSITION, JAZZ HARMONY ที่โรงเรียนดนตรีสยามกลการและมหาวิทยาลัยต่างๆ ฯลฯ", "title": "แมนรัตน์ ศรีกรานนท์" }, { "docid": "121300#1", "text": "มหาวิทยาลัยแฮเรียท-วัตต์ เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ประสบความสำเร็จอย่างมากในด้านงานวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ โดยรายได้หลักของทางมหาวิทยาลัยเกือบครึ่งหนึ่งเป็นรายได้จากงานวิจัย การให้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยเรื่องการฝึกงานและการให้บริการทางธุรกิจนั้น ทำให้มหาวิทยาลัยเป็นสถานที่ศึกษาในระดับปริญญาโทและเอกที่ได้รับความนิยมมากแห่งหนึ่ง นอกจากการเรียนการสอนวิศวกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่เป็นที่นิยมทั่วไป เช่น วิศวกรรมโยธา คอมพิวเตอร์ ไฟฟ้า อุตสาหการ และปิโตรเลียมแล้ว สาขาวิศวกรรมเฉพาะด้านที่หาเรียนได้ในมหาวิทยาลัยเพียงไม่กี่แห่งในโลกเช่น การต้มและกลั่นสุรา", "title": "มหาวิทยาลัยแฮเรียต-วัตต์" }, { "docid": "82858#5", "text": "เดิมวิชาผังเมืองเปิดเป็นหลักสูตรสอนในระดับปริญญาโท (บัณฑิตวิทยาลัย) เริ่มครั้งแรกที่ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เน้นการวางแผนและนโยบายในภาพกว้างบัณฑิตจากทุกสาขาสามารถเข้าเรียนได้ และ ต่อมา มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เปิดสอนที่หลักสูตรปริญญาโท สำหรับผู้ที่จบปริญญาตรีสถาปัตยกรรมและการออกแบบกายภาพอื่นๆ ที่ ภาควิชาการออกแบบชุมชนเมือง และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน สาขาวิชาการผังเมืองโดยได้รับปริญญาการผังเมืองมหาบัณฑิตโดยตรง ในปัจจุบันมีหลักสูตรการออกแบบชุมชนเมือง ทั้งนี้ ในปัจจุบันได้ทำการเปิดสอนในระดับปริญญาตรีในหลายมหาวิทยาลัย อาทิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ใน สาขาวิชาการผังเมือง และสาขาการออกแบบพัฒนาชุมชนเมือง และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเมืองและชุมชน เป็นต้น", "title": "การผังเมือง" }, { "docid": "312612#1", "text": "คณะบัญชีได้ก่อตั้งขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พุทธศักราช 2505 ทั้งนี้เนื่องจากในขณะนั้นมีสถาบันที่เปิดสอนทางด้านบัญชีอยู่เพียงไม่กี่แห่งและที่มีเสียงก็คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นสถาบันของรัฐ มีผู้สนใจศึกษาทางด้านบัญชีมากแต่ยังขาดสถาบันรองรับ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงเปิดสอนสาขาวิชาบัญชี โดยตั้งเป็นแผนกเรียกว่า แผนกบัญชี เพื่อสร้างบัณฑิตให้ออกไปทำงานด้านการบัญชีในหน่วยงานเอกชน และหน่วยงานราชการ ในเวลาต่อมาปีพุทธศักราช 2520 มหาวิทยาลัยได้ยกฐานะแผนกบัญชีขึ้นเป็นคณะวิชาบัญชีและเปลี่ยนชื่อเรียกให้สั้นเข้าในปีต่อมาว่า คณะบัญชี ปัจจุบันคณะบัญชีเปิดสอนนักศึกษาทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ ในหลักสูตรปริญญาตรีและปริญญาตรีต่อเนื่อง", "title": "คณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ" }, { "docid": "351979#11", "text": "ปัจจุบันหลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ฯ ได้ปรับปรุงหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนทั้งสิ้น 2 หลักสูตรสาขาวิชา 6 แขนงสาขาวิชา ดังนี้", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "394875#12", "text": "สถาบันดนตรียามาฮ่า (สยามกลการ) ผู้นำดนตรีศึกษารายแรกของเมืองไทย จับมือ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิดโรงเรียนสอนดนตรี ณ ศูนย์การค้าเสริมไทยคอมเพล็กซ์ ด้วยเงินลงทุน 10 ล้านบาท เตรียมปั้นบุคลากรดนตรีครั้งใหญ่ โดยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ เป็นเทรนเนอร์ คัดเลือกนิสิต นักศึกษาคนรุ่นใหม่ เปิดประสบการณ์ดนตรีสร้างรายได้มหาศาล เตรียมพร้อมก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2015 บริษัท สยามดนตรียามาฮ่า จำกัด มองเห็นความสำคัญในการผลิตบุคลากรด้านดนตรี นับเป็นหัวใจหลักในการพัฒนาดนตรี ควบคู่ไปกับการพัฒนานิสิต นักศึกษา ที่มีความรู้ความสามารถด้านดนตรี เพื่อเสริมศักยภาพของนิสิตไทยสู่บุคลากรดนตรี มืออาชีพ และก้าวสู่ระดับสากล อีกทั้ง เตรียมก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2015 \nโดยมีความพร้อมในการขยายเครือข่ายร่วมกับพันธมิตรธุรกิจดนตรี คือ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิดโรงเรียนสอนดนตรี ณ ศูนย์การค้าเสริมไทยคอมเพล็กซ์ ติดกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยได้รับความร่วมมือคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ในการเป็นเทรนเนอร์ของโรงเรียนในแขนงวิชาต่าง ๆ อาทิ เปียโน กีตาร์คลาสสิค กีตาร์ไฟฟ้า กีตาร์เบส กลองชุด ไวโอลิน และหลักสูตรอื่นๆ ของสถาบัน ตลอดจนพัฒนาหลักสูตรดนตรีในสาขาดนตรีไทย และดนตรีพื้นบ้าน เพื่อเปิดสอนให้กับบุคคลทั่วไป และยังเป็นการผลิตบุคลากรนักดนตรีที่มีความรู้ และมีคุณภาพ ตลอดจนให้ความสำคัญเรื่องอุปกรณ์การเรียนการสอนต้องได้มาตรฐานสากล เพื่อรักษาระดับมาตรฐานทางด้านการเรียนการสอนเอาไว้ให้ดีที่สุดในเมืองไทย ตอบสนองความต้องการของนิสิต นักศึกษา และประชาชนที่สนใจอยากศึกษาดนตรี", "title": "วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" }, { "docid": "394875#2", "text": "“วิทยาลัยดุริยางคศิลป์” เป็นโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2550– 2554 (ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2550)   เดิมเป็นสาขาวิชาดุริยางคศิลป์  สังกัดคณะศิลปกรรมศาสตร์ และในปี พ.ศ. 2550 สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ได้แยกการบริหารออกมาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ เป็นโครงการจัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอนให้แก่บุคคลที่สนใจศึกษาในสาขาวิชาด้านดนตรี โดยในปี พ.ศ. 2540 ได้เปิดหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ปี พ.ศ. 2549 เปิดหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ปี พ.ศ. 2550 ได้ร่วมมือกับโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดการเรียนการสอนหลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี และในปี พ.ศ. 2551 ได้เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์", "title": "วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" }, { "docid": "635029#1", "text": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมีวิวัฒนาการสืบเนื่องมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2538 กล่าวคือ วิทยาลัยครูมหาสารคามยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏมหาสารคาม จึงได้จัดตั้งภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น แต่ยังไม่ได้จัดการเรียนการสอนสาขานิติศาสตร์ ต่อมาภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองได้เปิดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (นิติศาสตร์) เป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ. 2543 หลังจากการการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเมื่อปี พ.ศ. 2547 ได้มีการเปลี่ยนแปลงภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น โดยได้ยุบภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองจัดตั้งเป็น 2 โปรแกรมวิชา คือ โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์และโปรแกรมวิชานิติศาสตร์", "title": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "449084#0", "text": "คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นคณะแรกเริ่มที่อนุมัติให้มีการจัดตั้งคณะขึ้นภายใต้การดูแลของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นโดยการยุบรวมกันระหว่าง 2 คณะ คือ คณะมนุษยศาสตร์กับคณะสังคมศาสตร์ภายหลังจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม เปลี่ยนสถานะภาพเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคามในปี 2537 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการบริหารจัดการและแบ่งส่วนราชการแยกเป็นภาควิชาและสำนักงานเลขานุการ ในส่วนภาควิชาแบ่งเป็น 5 ภาควิชา คือ\nสำหรับในส่วนสำนักงาน เลขานุการคณะ แบ่งกลุ่มงานภายในเป็น 4 กลุ่มงานคือ กลุ่มงานบริหารและธุรการ กลุ่มงานคลังและพัสดุ กลุ่มงานวิเคราะห์นโยบายและแผน และกลุ่มงานบริการวิชาการและบริการโสตทัศนศึกษา ปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี จำนวน 13 สาขาวิชา ระดับปริญญาโท จำนวน 3 สาขาวิชา และระดับปริญญาเอก จำนวน 3 สาขาวิชา", "title": "คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" }, { "docid": "49065#0", "text": "สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีการเรียนการสอนในสาขาวิชารัฐศาสตร์ 3 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร แต่ปัจจุบันมีการขยายวิทยาเขตในการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ อันได้แก่ แม่โจ้-แม่สะเรียง, แม่โจ้-แม่ฮ่องสอน, แม่โจ้พังงา-ภูเก็ต, แม่โจ้-ร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นส่วนที่เพิ่มเติมจาก แม่โจ้-เชียงใหม่ แม่โจ้-แพร่ และแม่โจ้ - ชุมพร จะเน้นในการบริหารงานของภาครัฐโดยเพิ่มเติมส่วนที่ควรปฏิบัติเพิ่มเติมด้านการบริหารงานแบบเอกชน จุดเน้นที่สำคัญคือ การบริหารงานส่วนท้องถิ่น ซึ่งต่อไปถือเป็นส่วนที่เป็นฐานของการพัฒนาจังหวัด ประเทศ โดยสร้างความเจริญรุ่งเรืองแก่ประเทศ และสร้างความเป็นอยู่ที่ดีแก่ประชาชนเป็นหลัก ซึ่งภายในไม่กี่ปี จะมีการเปิดรับสมัคร ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ ถือเป็นการครบส่วนการศึกษาในวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ที่มีหลักสูตรการศึกษาในภาคอุดมดศึกษา ตั้งแต่ปริญญาตรี โท และเอก ", "title": "สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้" }, { "docid": "351979#6", "text": "หลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มีสัญลักษณ์ประจำหลักสูตรคือ ตราสิงหราช หลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เดิมสังกัดคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ ใน พ.ศ. 2538 ภาควิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ได้แยกเป็นภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ และภาควิชานิติศาสตร์ ใน พ.ศ. 2552 ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ ร่วมกับ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ และภาควิชานิติศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร่วมกันยกฐานะเป็นวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "394875#0", "text": "วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ (อังกฤษ: College of Music) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี ดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ว่า พหูนํ ปณฺฑิโตชีเว “ผู้มีปัญญาพึงเป็นอยู่เพื่อมหาชน” และหลักปรัชญาของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ที่ว่า “สร้างคน สร้างจินตนาการ สร้างงานคุณภาพ” วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นวิทยาลัยดนตรีชั้นนำของประเทศ และในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิทยาดุริยางคศิลป์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศ 5 ด้าน คือ ด้านการจัดการเรียนการด้านสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการสังคม ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และด้านการบริหารจัดการ ตลอดจนเป็นแนวทางในการดำเนินงานโดยอยู่ภายใต้ค่านิยม ของวิทยาลัยได้แก่ “MUSIC” เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอุดมดนตรี จนถึงระดับปริญญาเอก มีสาขาวิชาที่หลากหลายครอบคลุมทุกเนื้อหาทางดนตรี ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนด้านดนตรี เทียบเท่าคณะ แห่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ", "title": "วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" }, { "docid": "351979#4", "text": "ต่อมาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ได้เปลี่ยนชื่อ \"วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง\" เป็น \"คณะนิติศาสตร์\" ตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ได้มีประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามให้แยกสาขาวิชารัฐศาสตร์ และสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ออกจากคณะนิติศาสตร์ แล้วจัดตั้งเป็น คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ขึ้นมาตั้งแต่นั้นเป็นต้นไป", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "12146#53", "text": "มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิดการสอนใน 3 กลุ่มสาขาวิชา ได้แก่", "title": "มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" }, { "docid": "351979#2", "text": "ในปี พ.ศ. 2538 วิทยาลัยครูมหาสารคามยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏมหาสารคาม ภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองจึงเปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) และภาควิชาสังคมวิทยาได้เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (การพัฒนาชุมชน) ต่อมา ภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองได้เปิดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (นิติศาสตร์) เป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ. 2543 หลังจากการการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเมื่อปี พ.ศ. 2547 ได้มีการเปลี่ยนแปลงภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น โดยหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์รับผิดชอบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต หลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์รับผิดชอบหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ส่วนหลักสูตรสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (การพัฒนาชุมชน) ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นหลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์รับผิดชอบหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "12146#55", "text": "การบริหารการศึกษาดำเนินการโดย 18 คณะ 2 วิทยาลัย 1 บัณฑิตวิทยาลัย และ 2 สถาบันวิจัย [2]:5 ในปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยเปิดการสอนหลักสูตรต่าง ๆ จำนวน 177 สาขาวิชา [2]:5 เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 87 สาขาวิชา ระดับปริญญาโท 56 สาขาวิชา และระดับปริญญาเอก 34 สาขาวิชา [2]:3", "title": "มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" }, { "docid": "175883#2", "text": "ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ ดำเนินการจัดการเรียนการสอน 5 หลักสูตร คือ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (6 ปี) (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2549)\nหลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเวชกิจฉุกเฉิน หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต\nสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ", "title": "คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม" }, { "docid": "635029#14", "text": "นายสุวนัย ทะคำสอน ประธานบริหารหลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ (20 พฤศจิกายน 2558 - ปัจจุบัน)(ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตั้งแต่ 14 ธันวาคม 2559 เป็นต้นไป)", "title": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "152093#1", "text": "IUJ เป็นเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรก และเป็นมหาวิทยาลัยเพียงไม่กี่แห่งในประเทศญี่ปุ่น ที่ทำการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหลักสูตร โดยเริ่มการเรียนการสอนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 ในระดับปริญญาโท ในห้าสาขาวิชาได้แก่ การพัฒนาระหว่างประเทศ การศึกษาสันติภาพระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ บริหารธุรกิจ (MBA) และ e-Business Management โดย IUJ ได้รับการรับรองการเรียนการสอนและอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการแห่งประเทศญี่ปุ่น ", "title": "มหาวิทยาลัยนานาชาติแห่งญี่ปุ่น" }, { "docid": "351979#5", "text": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีและปริญญาโท โดยแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรสาขาวิชา ได้แก่", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "351979#7", "text": "ปัจจุบันหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามรับผิดชอบการจัดการเรียนการสอน ดังนี้", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "351979#9", "text": "หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เริ่มเปิดทำการเรียนการสอน ในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ต่อมาได้แยกออกมาสังกัดวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ในปี พ.ศ. 2551 ร่วมกับหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และหลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ และแยกออกมาสังกัดคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2557", "title": "คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "139945#3", "text": "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนทางด้านนิเทศศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2482 โดยเปิดสอนในระดับอนุปริญญา สังกัดในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์[1] หลังจากนั้น จึงมีการโอนการศึกษาวิชาการหนังสือพิมพ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไปทำการสอนที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เมื่อปี พ.ศ. 2497 โดยใช้ชื่อคณะว่า คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน และได้ปรับปรุงหลักสูตรจนสามารถเปิดสอนในระดับปริญญาตรีได้เป็นแห่งแรกของประเทศไทย[2] ภายหลังมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงได้เปิดการเรียนการสอนในสาขาวิชาทางด้านนิเทศศาสตร์มากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งอาจะใช้ชื่อคณะที่แตกต่างกัน อาทิเช่น มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิตในวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้ชื่อ คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใช้ชื่อ คณะวิทยาการสารสนเทศ ขณะที่ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยทักษิณ ก็มีเปิดสอนในหน่วยงานต่างๆของมหาวิทยาลัย", "title": "นิเทศศาสตร์" }, { "docid": "635029#0", "text": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เป็นส่วนงานประเภทคณะของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จัดตั้งขึ้นตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เรื่องเปลี่ยนชื่อ \"วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง\" เป็น \"คณะนิติศาสตร์\" ลงวันที่ 5 มิถุนายน 2557 โดยให้มีผลเป็นคณะนิติศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 เป็นต้นไป มีรากฐานมาจากภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ต่อมา พ.ศ. 2543 แยกจากภาควิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มาเปิดสอนโดยเอกเทศเป็นโปรแกรมวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2552 แยกจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดตั้งเป็นวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ร่วมกับหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และหลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ โดยมีฐานะเป็น หลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง และในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เปลี่ยนชื่อจากวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง เป็น คณะนิติศาสตร์ ปัจจุบัน เปิดสอนระดับปริญญาตรี", "title": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" }, { "docid": "22548#1", "text": "รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือ การเรียนการสอนวิชาในด้านการบริหารรัฐกิจ การบริหารและการจัดการภาครัฐ ในประเทศไทยมีหลายสถาบันอุดมศึกษาเปิดสอน ทั้งนี้การสังกัดหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่ในหลากหลายลักษณะ อาทิ สังกัดอยู่ภายใต้ชื่อคณะโดยตรง เช่น สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สังกัดอยู่ภายใต้ชื่อคณะรัฐศาสตร์ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สังกัดภายใต้ภาควิชา เช่น ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาการจัดการ รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร", "title": "การบริหารรัฐกิจ" }, { "docid": "635029#2", "text": "ต่อมาเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 หลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ร่วมกับหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และหลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาชีพและกึ่งวิชาชีพได้ขอแยกจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพในการบริหารงาน รวมทั้งรองรับความเติบโตของหน่วยงาน จึงมีการรวมหลักสูตรสาขาวิชาทั้ง 3 หลักสูตรเพื่อยกฐานะขึ้นเป็นหน่วยงานภายใน เรียกว่า วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มีฐานะเทียบเท่าคณะ ซึ่งได้รับการอนุมัติจัดตั้งขึ้นตั้งแต่วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ว่าด้วย วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง พ.ศ. 2552", "title": "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม" } ]
1
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน เสียชีวิตที่ไหน?
[ { "docid": "37927#6", "text": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ทรงลาออกจากราชการและเสด็จไปประทับ ณ ประเทศสิงคโปร์ พร้อมกับครอบครัวเมื่อ พ.ศ. 2476 ต่อมาประชวรจนกระทั่งวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2479 จึงสิ้นพระชนม์ที่โรงพยาบาลในประเทศสิงคโปร์ สิริพระชันษาได้ 55 ปี พระชายาได้เชิญพระศพกลับกรุงเทพฯ คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลโปรดให้ประดิษฐานพระศพ ณ พระที่นั่งทรงธรรม วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร แล้วประกอบการพระราชกุศลทักษิณานุปทานในวันที่ 8-9 ตุลาคม[5]", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน" } ]
[ { "docid": "179409#1", "text": "หม่อมเจ้าโสภณภราไดย เสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2473 มีโอรสคือ หม่อมราชวงศ์พรรธนภณ สวัสดิวัฒน์ (นามเดิม หม่อมราชวงศ์ฉัตรโสภณ สวัสดิวัตน์) ", "title": "หม่อมเจ้าโสภณภราไดย สวัสดิวัตน์" }, { "docid": "50380#0", "text": "สถานีกำแพงเพชร (, รหัส BL12) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนกำแพงเพชร กรุงเทพมหานคร ใช้ชื่อตามถนนกำแพงเพชร ซึ่งตั้งตามพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ตั้งอยู่ใจกลางแหล่งค้าขายที่สำคัญคือตลาดนัดจตุจักร ตลาดกลางองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร และตลาดสัตว์เลี้ยง องค์การส่งเสริมกิจการโคมนมแห่งประเทศไทย", "title": "สถานีกำแพงเพชร" }, { "docid": "74178#1", "text": "ครั้นวันรุ่งขึ้น วันที่ 8 มีนาคม 2448 ร.5 ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ตั้งหม่อมเจ้า บุตรีในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล เป็นพระองค์เจ้าตามพระมารดา ตามกฎมณเฑียรบาลราชประเพณีที่มีมา โดยทรงโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นเป็น พระหลานเธอ พระองค์เจ้า ทั้งสายที่จะร่วมพระครรภ์สืบไป ", "title": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร" }, { "docid": "45090#2", "text": "เจ้าลดาคำ เสกสมรสครั้งแรกกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระธิดาสององค์ได้แก่", "title": "เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่" }, { "docid": "307814#0", "text": "ตราบุรฉัตร เป็นตราวงกลมทำจากเหล็กหล่อสีแดงน้ำหมาก สร้างขึ้นเพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ในการที่พระองค์ทรงนำรถจักรดีเซลคันแรกมาใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยตราบุรฉัตรจะติดข้างรถจักรดีเซลไฟฟ้าทุกคัน", "title": "ตราบุรฉัตร" }, { "docid": "37927#1", "text": "พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 35 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาวาด ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2424 ขณะทรงพระเยาว์เริ่มศึกษาที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน" }, { "docid": "46303#0", "text": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร" }, { "docid": "37927#8", "text": "พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยุบรวมกรมทางไปขึ้นกับกรมรถไฟหลวง โดยให้พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมขุนกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ทรงรับผิดชอบงานสร้างถนนและสะพานทั่วประเทศ เช่น สะพานกษัตริย์ศึก เป็นสะพานลอยข้ามทางรถไฟแห่งแรก และสะพานรัษฎาภิเศก จังหวัดลำปาง สะพานพุทธ สะพานพระราม 6", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน" }, { "docid": "224450#0", "text": "หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สารสาส; 7 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล", "title": "หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา" }, { "docid": "74181#0", "text": "ศาสตราจารย์พิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร (12 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2458 ", "title": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร" }, { "docid": "161510#5", "text": "ประยอม ซองทอง สมรสกับ หม่อมราชวงศ์อรฉัตร สุขสวัสดิ์ ธิดาหม่อมเจ้าประสมสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ โอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช กับ หม่อมเขียน และหม่อมเจ้าหญิงกาญจนฉัตร ฉัตรไชย ธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน กับ หม่อมเพี้ยน สุรคุปต์ มีบุตรธิดา 3 คน คือ", "title": "ประยอม ซองทอง" }, { "docid": "145693#0", "text": "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล (11 มิถุนายน พ.ศ. 2428 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เป็นพระธิดาพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ กับหม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ และเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน", "title": "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล" }, { "docid": "145693#3", "text": "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล เป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน มีพระโอรส 1 องค์ และ พระธิดา 3 องค์ ซึ่งพระโอรสธิดาที่ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล จะมีฐานันดรศักดิ์เป็น\"พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า\"ทั้งหมด", "title": "พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล" }, { "docid": "573323#1", "text": "หม่อมเจ้าสุรฉัตร ฉัตรชัย ประสูติเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2472 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธินกับหม่อมเผือด พึ่งรักวงศ์ พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "หม่อมเจ้าสุรฉัตร ฉัตรชัย" }, { "docid": "46303#1", "text": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร มีพระนามเล่นว่า ตุ๊ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 พระองค์มีพระเชษฐภคินีและพระเชษฐา คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร, พระองค์เจ้าหญิง และพระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร", "title": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร" }, { "docid": "184771#27", "text": "เป็นทรงแปดเหลี่ยมซ้อนกัน ก่ออิฐถือปูนทำผิวหินล้าง มีลายปั้นเป็นแบบรักร้อยห้องทั้ง 4 ด้าน บนสุดเป็นฉัตรโลหะ 5 ชั้นตามพระนาม ภายในบรรจุพระสรีรางคารของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน (ในเจ้าจอมมารดาวาด กัลยาณมิตร) พระชายา พระโอรสและพระธิดา ในสายราชสกุลฉัตรไชย", "title": "สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร" }, { "docid": "237529#1", "text": "หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย เสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล มีบุตรและธิดา คือหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2501 สิริพระชันษา 44 ปี", "title": "หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย" }, { "docid": "37927#7", "text": "การดำเนินกิจการรถไฟในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงให้ชาวต่างประเทศเป็นผู้ควบคุมการบริหารกิจการทั้งหมด กระทั่งปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร รักษาการตำแหน่งเจ้ากรมรถไฟสายเหนือ ในปี พ.ศ. 2460 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมกรมรถไฟสายเหนือกับสายใต้เข้าเป็นกรมเดียวกัน เรียกว่า \"กรมรถไฟหลวง\" และให้พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมขุนกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง และทรงบุกเบิกพัฒนากิจการต่างๆ ของกรมรถไฟหลวง ขยายเส้นทางเดินรถไฟสายเหนือและสายใต้เข้าด้วยกัน สายตะวันออกเฉียงเหนือทรงสร้างทางรถไฟจากนครราชสีมาถึงอุบลราชธานี สายตะวันออกจากฉะเชิงเทราถึงอรัญประเทศ และในปี พ.ศ. 2471 พระองค์ยังได้ทรงสั่งซื้อรถจักรดีเซล จำนวน 2 คัน (หมายเลข 21 และ 22) จากประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยมีกำลัง 180 แรงม้า เนื่องจากพระองค์ทรงเห็นว่า รถจักรไอน้ำลากจูงขบวนรถไม่สะดวก และไม่ประหยัด อีกทั้งลูกไฟที่กระจายออกมาเป็นอันตรายต่อผู้โดยสาร และอาจทำให้เกิดไฟไหม้ไม้หมอนอีกด้วย ซึ่งรถจักรดีเซลทั้งสองคันดังกล่าว เป็นรถจักรดีเซลคันแรกในทวีปเอเชีย และถือว่าประเทศไทยนำรถจักรดีเซลเข้ามาใช้งานเป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียด้วย [6]", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน" }, { "docid": "748853#1", "text": "หม่อมราชวงศ์อรฉัตร เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2485 เป็นธิดาในหม่อมเจ้าประสมสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ กับหม่อมเจ้ากาญจนฉัตร ฉัตรชัย พระนัดดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ต้นราชสกุลฉัตรชัย และเป็นพระนัดดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช ต้นราชสกุลสุขสวัสดิ สำเร็จการศึกษาจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับประยอม ซองทอง บุตรของฮด กับมี ซองทอง มีบุตรธิดา 3 คน คือ", "title": "หม่อมราชวงศ์อรฉัตร ซองทอง" }, { "docid": "718212#3", "text": "ภายหลังการถึงแก่พิราลัยของเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต ในปี พ.ศ. 2465 เจ้าบุญสารเสวตร์ จึงได้รับหน้าที่เป็นผู้ดำเนินกิจการอุตสาหกรรมป่าไม้ของเจ้าบิดาต่อเนื่องมา จนกระทั่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการในกรมทางหลวง ภายใต้การบังคับบัญชาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน โดยได้รับมอบหมายให้เป็นผู้สร้างทางหลวงสายแพร่-น่าน", "title": "เจ้าบุญสารเสวตร์ ณ ลำปาง" }, { "docid": "37927#3", "text": "พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากรเสด็จกลับประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2447 ทรงรับราชการทหาร เหล่าทหารช่าง กรมยุทธนาธิการทหารบก ทรงดำรงตำแหน่งจเรทหารช่างพระองค์แรกในปี พ.ศ. 2451 และทรงดำรงตำแหน่งนี้เป็นระยะเวลา 17 ปี ทรงนำความรู้ในวิชาการทหารแผนใหม่ตามแบบอย่างประเทศตะวันตกมาปรับปรุงกิจการทหารช่าง จนได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานกิจการทหารช่างแผนใหม่ และกองทัพ", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน" }, { "docid": "201004#14", "text": "ถนนเลียบโครงการโฮปเวลล์ หรือ โลคอลโรด เป็นถนนที่ก่อสร้างในเขตทางรถไฟ เส้นทางเลียบไปกับโครงสร้างของโครงการโฮปเวลล์ ก่อสร้างโดยงบประมาณของกรมทางหลวง เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2542 ส่วนเลียบทางรถไฟสายเหนือ-อีสาน มีชื่อเป็นทางการว่า ถนนกำแพงเพชร 5 และถนนกำแพงเพชร 6 และส่วนเลียบทางรถไฟสายตะวันออก มีชื่อเป็นทางการว่า ถนนกำแพงเพชร 7 ตั้งชื่อตามพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน", "title": "โครงการโฮปเวลล์" }, { "docid": "608485#0", "text": "วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นระยะแรก ราวปี พ.ศ. 2470-2472 โดยพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ซึ่งทรงริเริ่มทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นครั้งแรกในประเทศสยาม โดยทรงตั้งชื่อว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท” เนื่องจากส่งกระจายเสียงจากพระราชวังพญาไท และยังทรงมอบหมายให้กรมไปรษณีย์โทรเลข โดยกองช่างวิทยุ ดำเนินการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นการคู่ขนานกับสถานีส่วนพระองค์ โดยผู้ฟังนิยมเรียกว่า “สถานีวิทยุศาลาแดง” เนื่องจากสถานีส่งกระจายเสียง ตั้งอยู่ในบริเวณย่านที่เรียกว่าศาลาแดง และต่อมาสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เปิดกระจายเสียงอย่างเป็นทางการ เริ่มด้วยการถ่ายทอดเสียงสด กระแสพระราชดำรัส เนื่องในการพระราชพิธีฉัตรมงคล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อวันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 จากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร", "title": "วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย" }, { "docid": "45090#0", "text": "เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ (7 ธันวาคม พ.ศ. 2439 — 15 มิถุนายน พ.ศ. 2527) เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือท่านหนึ่ง ทั้งเคยเป็นอดีตหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่" }, { "docid": "573323#0", "text": "หม่อมเจ้าสุรฉัตร ฉัตรชัย (15 มิถุนายน พ.ศ. 2472 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว", "title": "หม่อมเจ้าสุรฉัตร ฉัตรชัย" }, { "docid": "37927#0", "text": "นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน พระนามเดิม พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) อดีตจเรทหารช่าง อดีตผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง อดีตเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม และ ผู้ริเริ่มการค้นหาปิโตรเลียมในประเทศสยามเป็นครั้งแรก", "title": "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน" }, { "docid": "257786#0", "text": "ท่านผู้หญิงฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี (นามเดิม: หม่อมเจ้าฉัตรสุดา ฉัตรไชย; เกิด: 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 — ถึงแก่อนิจกรรม 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2539) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน กับเจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ ", "title": "ฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี" }, { "docid": "608485#4", "text": "พลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน เสนาบดี กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ในรัชกาลที่ 7 ทรงเป็นผู้บุกเบิกและริเริ่มใ ห้มีการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยปี พ.ศ. 2470 พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร ได้ทรงซื้อเครื่องส่งวิทยุเข้ามาเพื่อศึกษายังที่ประทับของพระองค์เองคือวังบ้านดอกไม้ ทั้งศึกษาและทดลองเอาโทรศัพท์และเสียงเพลงมาส่งเสียงพูด พร้อมเสียงดนตรีกระจายออกไป", "title": "วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย" }, { "docid": "74178#0", "text": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร (7 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 11 สิงหาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลประสูติเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2448 เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ", "title": "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามยุรฉัตร" }, { "docid": "135194#0", "text": "ร้อยตรี หม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย (6 ตุลาคม พ.ศ. 2477 - 13 มกราคม พ.ศ. 2553) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่ หม่อมเอื้อม ฉัตรชัย ณ อยุธยา (สกุลเดิม อรุณทัต) และทรงเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้เขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย สิ้นชีพิตักษัยที่วัง ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี หลังจากประชวรด้วยโรคพาร์กินสัน เป็นเวลาถึง 15 ปี ซึ่งหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรไชย เป็นอนุชาต่างมารดา กับ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ที่สิ้นพระชนม์ก่อนหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย เพียง 1 เดือน นับเป็นการสูญเสียเจ้านายชั้นสูงที่นับถือของราชสกุลฉัตรชัย", "title": "หม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย" } ]
2
เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดลฤดูกาลที่ 5 ใครเป็นผู้ชนะ ?
[ { "docid": "838221#1", "text": "ผู้ชนะในฤดูกาลนี้ คือ มอรีน ว็อบเบลวิทซ์ จาก ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเธอจะได้รับรถยนต์ ซูบารุ อิมเปรซ่า หนึ่งคัน, ถ่ายภาพแฟชั่นเซ็ทและขึ้นหน้าปกให้กับ นิตยสาร ไนล่อน แม็กกาซีน สิงคโปร์ และเซ็นสัญญานางแบบกับเอเจนซี่ สตอร์ม โมเดล แมเนจเมนท์ ที่ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" } ]
[ { "docid": "667426#45", "text": "ต่อมา โมนิก้า ได้พูดคุยกับจอร์จิน่า ซึ่งโมนิก้าได้เผยว่า ตัวเธอไม่ได้เป็นคนเสแสร้ง และไม่ได้เป็นคนขี้โกหก และการถ่ายภาพที่เธอประสบปัญหามากที่สุดคือ การถ่ายแคตตาล็อกของ ซาโลรา และเมื่อจอร์จิน่าถามว่า เธอคิดว่าใครควรชนะการแข่งขัน เธอได้ตอบว่า กานี่ เนื่องจากเธอเชื่อมันศักยภาพในตัวกานี่เป็นอย่างมาก ว่าจะสามารถไปได้ไกลในวงการแฟชั่น โครงหน้าของเธอสามารถทำให้ถ่ายภาพออกมาได้อย่างสวยงาม และสุดท้ายเธอได้เผยว่า กานี่ คือคู่แข่งที่น่ากลัวที่สุดสำหรับเธอ", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 3" }, { "docid": "497778#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1 เป็นฤดูกาลแรกของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#64", "text": "ผู้ชิงตำแหน่งสามคนสุดท้าย: มิญ ตู้ เหงียน, มอรีน ว็อบเบลวิทซ์ และชิคิน โกเมซ เอเชีย เน็กซ์ ทอป โมเดล: มอรีน ว็อบเบลวิทซ์ ช่างถ่ายภาพ: ยู ไซ แขกรับเชิญพิเศษ: เพีย วูร์ทซบาค, รูบี้ แอดเลอร์, อะเดล ชาน, เกล็น ตัน, แดเนียล บอย, นูราอซิลาห์ โกเมซ, โรซินะห์ บินตี้ ยาฮายะห์, ลึง จื่อ เถียน, ฉึ่ง หวิก ซี, เอ็นริโก้ นิดิวิดาด, เดซี่ นิดิวิดาด", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "283787#1", "text": "นิโคลเป็นผู้ผ่านรอบคัดเลือกรอบ 14 คนสุดท้ายของรายการ อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13 ซึ่งเป็นฤดูกาลสำหรับสาวที่สูงไม่เกิน 5 ฟุต 7 และเธอก็เป็นผู้ชนะในฤดูกาลนั้น ไม่กี่เดือนก่อนที่จะเปิดรอบคัดตัว นิโคลก็ได้พบกับช่างภาพเดนเวอร์ ที่อาร์ทแกลอรี่ ซึ่งเขาได้แนะนำให้เธอลองมาออดิชั่นเหมือนกับที่เคยแนะนำ แอลลิสัน ฮาร์วาร์ด จาก อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 12 มาแล้ว", "title": "นิโคล ฟ็อกซ์" }, { "docid": "497778#10", "text": "สุดท้ายแล้ว กลุ่มสองเป็นกลุ่มที่ชนะ และภาพของพวกเธอ จะได้ถูกตีพิมพ์ลงนิตยสาร ฮาร์เปอร์บาซาร์ จีและสเตฟานี่ ต้องตกเป็นสองคนสุดท้าย จากภาพถ่ายที่ออกมาจืดชืด และไม่มีชีวิตชีวา แต่ นาเดีย ได้กล่าวว่า เนื่องจาก โมนิก้า ได้ออกจากการแข่งขัน ในสัปดาห์นี้พวกเธอทั้งคู่จะได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง โดยจะไม่มีใครถูกคัดออกจากการแข่งขัน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#21", "text": "ซึ่งการตัดสินนั้น จะตัดสินจากภาพเซลฟี่แบบรายบุคคล โดยสาวๆต่างแยกย้ายกันออกไปถ่ายภาพตามมุมต่างๆภายในบ้านพัก ซึ่งภาพถ่ายที่องค์ประกอบภาพออกมาโดยรวมถูกใจ แอนเดรีย มากที่สุด คือภาพของ วาเลรี่ เธอจึงเป็นผู้ชนะในครั้งนี้ ทำให้เธอได้รับคะแนนจากการแข่งขันสูงที่สุด ในขณะที่ เลย์ลา ได้รับคะแนนต่ำที่สุด ซึ่งทำให้ มิญ ตู้ ที่สนิทกับ เลย์ลา รู้สึกกังวลแทนเธอเป็นอย่างมาก ต่อมา พวกเธอได้รับข้อความจากซินดี้ ว่าให้ไปดูที่ริมสระว่ายน้ำ เมื่อพวกเธอออกไป จึงพบว่า มีอาหารและเครื่องดื่ม เป็นจำนวนมาก จัดเตรียมไว้ให้แก่พวกเธอ พวกเธอจึงดื่มและรับประทานอาหารกันอย่างสนุกสนาน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "605534#0", "text": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 21 (หนุ่มหล่อ & สาวสวย2) เป็นฤดูกาลที่ 21 ของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล โดยในฤดูกาลนี้ จะเป็นครั้งที่สองในประวัติศาสตร์รายการ ทีมีผู้เข้าแข่งขันเป็นผู้ชาย ร่วมเข้าแข่งขันในรายการด้วย ซึ่งฤดูกาลนี้จะเริ่ม ออกอากาศใน ปี 2557 โดยคณะกรรมการยังประกอบไปด้วย ไทรา แบงส์, เคลลี่ ครูโทน, สุดยอดนายแบบชาย ร็อบ อีวานส์ ถูกเปลี่ยนเป็น เจ.อเล็กซานเดอร์ และ ผู้กำกับการถ่ายภาพ เปลี่ยนจาก จอห์นนี่ วูเจ็ค เป็น ยู ไซ โดยที่ในฤดูกาลนี้ประชาชนยังสามารถโหวตให้คะแนนผู้เข้าแข่งขัน ได้เหมือนใน สองฤดูกาลที่แล้ว ซึ่งจะเป็นปัจจัยในการคัดออกในแต่ละสัปดาห์ได้เหมือนเดิม", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 21" }, { "docid": "194337#30", "text": "ในรอบสามคนสุดท้าย ผู้เข้าแข่งขันต้องถูกคณะกรรมการประเมินผลงานทั้งหมดที่ผ่านมาเพื่อคัดเลือกให้เหลือเพียงสองคนสำหรับเข้าสู่การเดินแบบรอบสุดท้าย โดยแชนน่อนเป็นคนแรกที่ผ่านเข้ารอบ และเอลิสกับเอเดรียนน์ที่เป็นสองคนสุดท้าย และผู้ตัดสินต่างลงความเห็นว่าจนถึงตอนนี้เอลิสก็ยังไม่ยอมเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับการเป็นนางแบบไม่เพียงแต่สวยอย่างเดียวเท่านั้นยังต้องมีความฉลาดอีกด้วยและนั่นจึงทำให้เธอต้องตกรอบ\nหลังจากที่เอเดรียนน์และแชนน่อนได้เดินแบบให้กับโชว์ของเบบี้แฟทแล้ว สองสาวก็ต้องเข้าพบคณะกรรมการเพื่อให้ประเมินผลงานอีกเป็นครั้งสุดท้าย การเดินแบบบนรันเวย์ของแชนน่อนได้รับคำชมจากกรรมการเป็นอย่างมาก และคณะกรรมการได้ลงความเห็นว่าเธอน่าจะขายได้ในวงการแฟชั่น ไทร่ารู้สึกแปลกใจที่เอเดรียนน์มาไกลได้ถึงขนาดนี้เพราะในตอนรกทั้งรูปลักษณ์และการพูดจาของแอนเดรียนน์ไม่ได้ใกล้เคียงกับคำว่านางแบบเลยแม้แต่น้อย หลังจากที่ตัดสินใจกันได้เรียบร้อยแล้ว ไทร่าได้เรียกผู้เข้าแข่งขันทั้งสองกลับเข้ามาแล้วบอกว่าภาพที่อยู่ด้านหลังคณะกรรมการคือผู้ชนะ และเมื่อดึงผ้าที่ปิดอยู่ออกมาปรากฏว่า ผู้ชนะคนแรกของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลก็คือ เอเดรียนน์ เคอร์รี่", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#66", "text": "ผู้ชนะเลิศการแข่งขัน ผู้ที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ชนะการแข่งขันประจำสัปดาห์ ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน แต่ได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง ผู้เข้าแข่งขันที่ชนะการแข่งขันประจำสัปดาห์ และถูกคัดออกจากการแข่งขัน แต่ได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกเพิ่มเข้ามา แต่ที่จริงแล้ว เป็นกรรมการที่ปลอมตัวมาเป็นผู้เข้าแข่งขัน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "754150#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 4 เป็นฤดูกาลที่ 4 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศสิงคโปร์ เริ่มออกอากาศวันที่ 9 มีนาคม 2559 เป็นวันแรก โดยในฤดูกาลนี้จะเป็นครั้งแรกที่จะตัดสินโดยการให้คะแนนจากการแข่งขันประจำสัปดาห์และคะแนนจากคณะกรรมการในห้องตัดสิน", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 4" }, { "docid": "192335#60", "text": "หลังจากที่ถ่ายภาพให้กับนิตยสารเซเว่นทีนแล้ว สองสาวต้องเดินโชว์บนรันเวย์ให้กับ แอดดีย์ แวน เดน ครอมเมนแอ็คเกอร์ โดยมี วิทนีย์ ทอมป์สัน ผู้ชนะจากฤดูกาลที่ 10 และ อนันดา มาร์คชิลดอน จาก เนเธอร์แลนด์ เน็กซ์ ท็อปโมเดลฤดูกาลที่ 4 เข้าร่วมด้วย โดยพวกเธอต้องเดินบนรันเวย์ที่ยาวและดูแปลกในคอนเซปต์แฟรี่เทลล์ และในการตัดสินครั้งสุดท้าย ทั้งคู่ต่างสูสีกันอย่างมากอย่างกินกันไม่ลงทั้งการเดินโชว์บนรันเวย์ และภาพถ่ายที่ผ่านมา แม็กคีย์ดูมีความหลากหลายและเป็นแฟชั่นชั้นสูง ส่วนซาแมนธ่าดูเข้าถึงง่ายและเป็นตัวแทนของสาวสุขภาพดี ทำให้กรรมการต้องลำบากใจในการตัดสินครั้งนี้มาก และหลังจากที่พิจารณากันอย่างถี่ถ้วนแล้ว คณะกรรมการก็ตัดสินใจและประกาศว่า ผู้ชนะของฤดูกาลที่ 11 ก็คือ แม็กคีย์ ซูลลิแวน", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 11" }, { "docid": "260729#0", "text": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13 (America's Next Top Model, Cycle 13) เป็นฤดูกาลที่ 13 ของอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ออกอากาศครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกา ทางช่อง CW ในวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 สำหรับฤดูกาลนี้มีผู้เข้าแข่งขันจำนวนเท่ากับ ฤดูกาลที่ 10 และ 11 โดยมีทั้งสิ้น 14 คน และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สุดยอดนางแบบ หญิงสาวสูง 5 ฟุต 7 นิ้วและเตี้ยกว่านั้น , ความงามอยู่ภายใต้มาตรฐานความสูง เพื่อก้าวสู่ผู้ชนะ 14 สาวต้องพิสูจน์ความงามที่มาในทุกรูปทรง , ขนาดและความสูง สำหรับคำโฆษณาที่ใช้ในฤดูกาลนี้คือ \"'The Lineup Is 5\"7' And Under. Not The Usual Suspects. BOOK 'EM!\" และเพลงที่ใช้สำหรับประกอบตัวอย่างของรายการในฤดูกาลนี้คือเพลง \"Good Girls Go Bad\" ของ Cobra Starship", "title": "อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 13" }, { "docid": "838221#24", "text": "ผู้ที่ถูกเรียกชื่อคนแรก: มิญ ตู้ เหงียน ผู้ที่ตกเป็นสองคนสุดท้าย: เลย์ลา อ๋อง และ โดโรธี เพทโซลด์ ผู้ที่ถูกคัดออก: เลย์ลา อ๋อง ช่างถ่ายภาพ: ยู ไซ แขกรับเชิญพิเศษ: แอนเดรีย ชง, เจสัน ก็อดฟรี, แม็ดดี้ รอสส์", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "345395#2", "text": "ผู้ชนะคนแรกของออสเตรเลียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล คือ เจมมา แซนเดอร์สัน อายุ 22 ปี จากเมือง นิวคาสเซิล", "title": "ออสเตรเลียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "589564#20", "text": "เริ่มต้นสัปดาห์นี้ อดัม ได้เข้ามาปลุกสาวๆที่บ้านพักแต่เช้าตรู่ เพื่อเตรียมตัวเดินทางออกไปทำโจทย์ประจำสัปดาห์ โดยหัวข้อในครั้งนี้คือ การออกกำลังกาย ในระหว่างที่เดินทางออกไปยังค่าย แจนิซ ได้พูดถึง เทีย ในแง่ลบ ซึ่งทำให้มารี และพูจา รู้สึกประหลาดใจ เนื่องจากสาวๆในบ้านคิดว่า พวกเธอเป็นเพื่อนสนิทกัน ในการแข่งขัน สาวๆจะได้แข่งกันเป็นทีม โดยผู้ที่ได้ภาพที่ดีที่สุดในครั้งก่อน จะได้เป็นหัวหน้าทีม คือ มารี และ โจเซฟิน ซึ่งสุดท้ายแล้ว เทีย เป็นคนเดียวที่ไม่มีใครเลือกเลย เธอจึงต้องเป็นทีมที่มีคนเดียว โดยสาวๆแต่ละทีม จะต้องฝ่าด่านต่างๆของการฝึก ซึ่งทีมที่ทำเวลาได้น้อยที่สุด จะได้เป็นทีมที่ชนะ สุดท้ายแล้ว เทีย ซึ่งมีร่างกายที่แข็งแรง ทำเวลาได้น้อยที่สุด เธอจึงเป็นผู้ชนะการแข่งขันครั้งนี้ รางวัลของเธอคือ จะได้ใช้เวลาในการทำสปาทรีทเม้นท์ โดยเธอได้เลือก แจนิซ ร่วมแบ่งปันรางวัลกับเธอด้วย", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2" }, { "docid": "838221#68", "text": "ผู้ที่ได้คะแนนมากที่สุดในสัปดาห์ ผู้ชนะเลิศการแข่งขัน ผู้ที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกคัดออกจากการแข่งขัน แต่ได้รับโอกาสให้แก้ตัวอีกครั้ง ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกตัดสิทธิ์ในการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ถูกเพิ่มเข้ามาภายหลัง แต่ที่จริงแล้ว เป็นกรรมการที่ปลอมตัวมา", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "838221#41", "text": "ผู้ที่ถูกเรียกชื่อคนแรก: ชิคิน โกเมซ ผู้ที่ตกเป็นสามคนสุดท้าย: ซินดี้ เฉิน, โดโรธี เพทโซลด์ และวาเลรี่ คราสนาเดวี ผู้ที่ถูกคัดออก: โดโรธี เพทโซลด์ และ วาเลรี่ คราสนาเดวี ผู้กำกับวิดีโอ: เควิน โอ แขกรับเชิญพิเศษ: คิม โจนส์, เรย์น รีด", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "589564#64", "text": "การตัดสินครั้งที่สองจะเป็น การตัดสินจากการเดินแบบครั้งสุดท้าย และเป็นอีกครั้งที่ ชีน่า ได้รับการยกย่องว่า มีใบหน้าที่เป็นเอเชียแบบทันสมัย ในขณะที่ โจดิลลี่ ก็มีการเดินแบบที่แข็งแกร่ง และยังมีใบหน้าที่เป็นสาวเอเชียแบบคลาสสิค และเมื่อทั้งสองคนถูกเรียกกลับมา ผู้ชนะ ของเอเชีย เน็กซ์ ทอป โมเดล ฤดูกาลที่สอง คือ ชีน่า เลียม", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2" }, { "docid": "589564#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2 เป็นฤดูกาลที่ 2 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศมาเลเซีย และเริ่มออกอากาศวันที่ 8 มกราคม 2557 เป็นวันแรก", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 2" }, { "docid": "497778#43", "text": "ต่อมา สาวๆได้เดินทางมาที่ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ ซึ่งเป็นสถานที่ที่ใช้ในการเดินแบบครั้งสุดท้าย พวกเธอจะได้สวมชุดราตรีที่ออกแบบโดย เฟรเดอริก ลี ซึ่งได้แรงบันดาลใจมาจาก วัฒนธรรมชาวเขาของเอเชีย โดยจะได้สาวๆที่ถูกคัดออกไปแล้ว เฮเลน่า, โซเฟีย, ทรัง, ฟีแลนโทรปี, เคย์ล่า และอาสธา รวมถึง โซฟี่ ซัมเนอร์ ผู้ชนะจาก อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 18 มาร่วมเดินแบบอีกด้วย ซึ่งพวกเธอ ก็สามารถทำออกมาได้อย่างน่าประทับใจ ซึ่งหลังจากเดินแบบเสร็จ ไทรา แบงส์ จึงได้เข้ามาพูดคุยกับสาวๆที่หลังเวที", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 1" }, { "docid": "838221#32", "text": "ในการแข่งขัน สาวๆต่างเลือกจับคู่กันเอง และถ่ายภาพให้ซึ่งกันและกัน ซึ่งสาวๆแต่ละกลุ่ม ก็ประสบปัญหาที่แตกต่างกันออกไป สุดท้ายแล้ว โดโรธี เป็นผู้ชนะในครั้งนี้ จากภาพถ่ายที่ออกมาดูสร้างสรรค์มากที่สุด เมื่อผลคะแนนการแข่งขันปรากฏออกมา ได้เกิดความตึงเครียดขึ้น เมื่อ วาเลรี่ รู้สึกว่า โดโรธี ไม่ควรชนะการแข่งขันในครั้งนี้ จึงเกิดการโต้แย้งกันระหว่าง นามีธา, วาเลรี่ และเวโรนิก้า", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "838221#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5 เป็นฤดูกาลที่ 5 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศสิงคโปร์ เริ่มออกอากาศ 5 เมษายน 2560 โดยในฤดูกาลนี้จะยังคงตัดสินโดยการให้คะแนนจากการแข่งขันประจำสัปดาห์และคะแนนจากคณะกรรมการในห้องตัดสินเช่นเดียวกันกับ ฤดูกาลที่ผ่านมา โดยธีมของฤดูกาลนี้ คือ \"คาดหวังในสิ่งที่ไม่คาดคิด\" (Expect The Unexpected)", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "467054#3", "text": "ในฤดูกาลที่ 7 ทางรายการได้เปลี่ยนชื่อรายการจาก \"บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล\" มาเป็น \"บริเทนแอนด์ไอร์แลนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล\" เพื่อเปิดกว้างการรับสัมครนางแบบในประเทศไอร์แลนด์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อกลับเป็นเหมือนเดิม แต่ยังคงรับสมัครนางแบบในไอร์แลนด์\nในปี 2555 ผู้เข้าแข่งจากฤดูกาลที่ 2 - 5 ได้เข้าร่วมแข่งขันในรายการ อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 18 ในชื่อว่า อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล:บริทิช อินเวชั่น (America's Next Top Model: British Invasion) โดยทั้งหมดจะต้องไปแข่งขันเป็นทีมกับนางแบบชาวอเมริกัน และ โซฟี่ ซัมเนอร์ จากฤดูกาลที่ 5 ได้คว้าตำแฟน่งผู้ชนะเลิศในฤดูกาลดังกล่าวด้วย", "title": "บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล" }, { "docid": "667426#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 3 เป็นฤดูกาลที่ 3 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบ ในระดับมืออาชีพ โดยผู้ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมากจากเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศสิงคโปร์ เริ่มออกอากาศวันที่ 25 มีนาคม 2558 เป็นวันแรก", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 3" }, { "docid": "497773#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล () เป็นรายการเรียลลิตีโชว์ที่ทำการคัดเลือกสาวๆจากประเทศในภูมิภาคเอเชีย ที่ใฝ่ฝันจะเป็นสุดยอดนางแบบในระดับมืออาชีพ โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องขับเคี่ยวและฟ่าฝ่าอุปสรรคต่างๆนานา ในการขึ้นอยู่ไปอยู่ในระดับสุดยอดนางแบบ ทั้งการถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ซึ่งเริ่มออกอากาศครั้งแรกทางช่อง สตาร์เวิลด์ ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2555", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล" }, { "docid": "838221#73", "text": "หมวดหมู่:เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล หมวดหมู่:การแข่งขัน หมวดหมู่:การประกวดนางแบบ หมวดหมู่:เรียลลิตีโชว์", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 5" }, { "docid": "939106#1", "text": "ซึ่งผู้ชนะในฤดูกาลนี้ คือ เดนา สโลซาร์ ตัวแทนจาก ประเทศไทย ซึ่งเธอจะได้รับรถยนต์ ซูบารุ เอ็กซ์วี หนึ่งคัน, ถ่ายภาพแฟชั่นเซ็ทและขึ้นหน้าปกให้กับ นิตยสาร ฮาร์เปอร์ บาซาร์ ไทยแลนด์, ได้เป็นตัวละครส่วนหนึ่งของเกมส์ในโทรศัพท์มือถือ อเมริกาส์เน็กซ์ท็อปโมเดล และเซ็นสัญญานางแบบกับเอเจนซี่ สตอร์ม โมเดล แมเนจเมนท์ ที่ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 6" }, { "docid": "467054#0", "text": "บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล () เป็นรายการเรียลลิตีโชว์ที่ออกอากาศอยู่ทางช่อง ลิวิง โดยจะทำการคัดเลือกหญิงสาวจากทั่วประเทศที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ ในเงื่อนไขที่ว่า ผู้สมัครเข้าแข่งขันต้องไม่เคยทำงานหรือทำสัญญากับบริษัทโมเดลลิ่งใดๆ มาก่อนเลยในระยะเวลา 5 ปี โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องผ่านบททดสอบมากมาย และผู้ชนะเพียงหนึ่งเดียวจะได้เซ็นสัญญากับเอเจนซี่ และเป็นใบเบิกทางสำหรับอาชีพนางแบบต่อไป", "title": "บริเทนส์เน็กซต์ท็อปโมเดล" }, { "docid": "939106#0", "text": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 6 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ที่ต้องการค้นหาสุดยอดนางแบบ เพื่อทำงานในวงการนางแบบในระดับมืออาชีพ โดยสาวๆ ที่เข้าแข่งขัน จะต้องมีเชื้อสายของเอเชียเท่านั้น โดยส่วนมากจะมาจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งในฤดูกาลนี้จะเป็นฤดูกาลแรกที่จะถ่ายทำรายการ ใน ประเทศไทย เริ่มออกอากาศ 22 สิงหาคม 2561 โดยในฤดูกาลนี้จะยังคงตัดสินโดยการให้คะแนนจากการแข่งขันประจำสัปดาห์และคะแนนจากคณะกรรมการในห้องตัดสินเช่นเดียวกันกับ ฤดูกาลที่ผ่านมา และในฤดูกาลนี้จะมีโมเดลเมนเทอร์คอยดูแลและให้คำแนะนำแก่ผู้เข้าแข่งขัน ซึ่งมี โมนิกา ซานตา มาเรีย อดีตผู้เข้าแข่งขันจาก ฤดูกาลที่ 3 ชิคิน โกเมซ และ มิญ ตู้ เหงียน อดีตผู้เข้าแข่งขันจาก ฤดูกาลที่ 5 มาทำหน้าที่ในครั้งนี้ โดยธีมของฤดูกาลนี้ คือ \"\"เหนือขีดจำกัด\" (Beyond Limits)\"", "title": "เอเชียส์เน็กซต์ท็อปโมเดล ฤดูกาลที่ 6" } ]
5
เจ.เค. โรว์ลิ่ง มีพี่น้องกี่คน?
[ { "docid": "38960#5", "text": "โรว์ลิงมีน้องสาวหนึ่งคนชื่อว่าไดแอนน์[9] เกิดให้หลังเธอ 23 เดือน[23] เมื่อโรว์ลิงอายุสี่ขวบ ครอบครัวของเธอย้ายไปอยู่ที่วินเทอร์บอร์น ซึ่งเป็นหมู่บ้านละแวกใกล้เคียง[31] เธอเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนเซนต์ไมเคิล ที่ก่อตั้งโดยวิลเลียม วิลเบอร์ฟอร์ซ นักการเมืองผู้เรียกร้องให้เกิดการเลิกทาสในอังกฤษและฮันนาห์ มอร์ นักปฏิรูปการศึกษาของอังกฤษ[32][33] อัลเฟรด ดันท์ ครูใหญ่ที่โรงเรียนแห่งนี้ภายหลังได้กลายมาเป็นแรงบันดาลใจให้เธอสร้างตัวละครอัลบัส ดัมเบิลดอร์ ในแฮร์รี่ พอตเตอร์ขึ้น[34]", "title": "เจ. เค. โรว์ลิง" } ]
[ { "docid": "195305#4", "text": "ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556 วอร์เนอร์บราเธอร์สได้ออกแถลงข่าวว่า หนังสือ \"สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่\" จะได้รับการดัดแปลงสู่รูปแบบภาพยนตร์ในลักษณะเป็นภาพยนตร์ชุด โดยมีวอร์เนอร์บราเธอร์สเป็นผู้ผลิตและออกจำหน่าย อีกทั้งเจ. เค. โรว์ลิ่ง ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้จะเป็นคนเขียนบทเองอีกด้วย ซึ่งเหตุผลที่โรว์ลิ่งอนุมัติก็เนื่องจากเธอมีความสัมพันธ์ที่ดีกับวอร์เนอร์บราเธอร์ส และอยากจะเขียนเรื่องราวของ นิวท์ สคามันเดอร์ ตัวละครในหนังสือให้แฟน ๆ ได้รู้จัก โดยเรื่องราวทั้งหมดจะเกิดขึ้นที่นครนิวยอร์ก ช่วงทศวรรษ 1920 ภายหลังมีการยืนยันเพิ่มเติมว่า เดวิด เฮย์แมน ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ทั้ง 8 ภาค จะกลับมาทำหน้าที่เดิมในภาพยนตร์ชุดนี้อีกครั้ง", "title": "สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่" }, { "docid": "399419#10", "text": "ฟิเลียส ฟลิตวิก (Filius Flitwig) เป็นตัวละครในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง ในตอนเริ่มเรื่อง ฟลิตวิกเป็นอาจารย์สอนวิชาคาถา และอาจารย์ประจำบ้านเรเวนคลอ ปรากฏตัวในภาคแรกตอนที่แฮร์รี่เข้าเรียนวิชาคาถา เขาได้สอนให้แฮร์รี่และเพื่อนๆ ใช้คาถา\"วิงการ์เดียม เลวิโอซ่า\" และเป็นคนเสกให้กุญแจบินได้เพื่อป้องกันศิลาอาถรรพ์ ในภาคที่สองฟลิตวิกมีอาการวิตกกับการเปิดออกของห้องแห่งความลับถึงขนาดส่งนักเรียนบ้านเรเวนคลอกลับบ้าน ในภาคสามและสี่ฟลิตวิกเป็นวาทยากรวงประสานเสียง ในภาคที่ห้าฟลิตวิกเป็นอาจารย์ที่ต่อต้านอัมบริดจ์แต่ไม่เปิดเผยเพราะกลัวโดนไล่ออกเหมือนทรีลอว์นี่ ในภาคสุดท้ายฟลิตวิกร่วมต่อสู้ในสงครามฮอกวอตส์จนชนะ", "title": "บุคลากรฮอกวอตส์" }, { "docid": "195306#0", "text": "พรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์ เป็นบทความสั้น ๆ ของนักเขียน เจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งเธอเขียนขึ้นมาหลังจากแฮร์รี่ พอตเตอร์จบลง มีทั้งหมด 800 คำ 2 หน้ากระดาษด้วยกัน โดยเธอกล่าวว่า \"สองสามเดือนก่อน นักเขียนจำนวนหนึ่งได้รับเชิญให้เขียนการ์ดด้วยลายมือสำหรับการประมูล โดย Waterstone's ในวันที่ 10 มิถุนายน รายได้ทั้งหมดจะมอบให้กับ \"English PEN\" ซึ่งเป็นสมาคมของนักเขียน และสมาคม \"Dyslexia Society\"\"", "title": "พรีเควลแฮร์รี่พอตเตอร์" }, { "docid": "33547#15", "text": "ในเทพนิยายของพี่น้องตระกูลกริมม์เรื่องแรก คือ \"Die Wichtelmänner\" ตัวเอกซึ่งมีชื่อเดียวกับชื่อเรื่องเป็นหุ่นเปลือยสองตัวซึ่งทำงานช่วยช่างทำรองเท้า เมื่อช่างให้รางวัลแก่พวกเขาเป็นเศษผ้าชิ้นเล็กๆ พวกเขาก็ดีใจมาก แล้ววิ่งหนีหายไปไม่มีใครพบอีกเลย \"Wichtelmänner\" เป็นภูตเล็กๆ ชนิดหนึ่งทำนองเดียวกับคนแคระ และ แต่เมื่อบทประพันธ์ได้แปลเป็นภาษาอังกฤษ กลับมีชื่อเรื่องว่า \"เอลฟ์กับช่างทำรองเท้า\" (The Elves and the Shoemaker) แนวคิดนี้ยังได้สะท้อนต่อมาอยู่ในวรรณกรรมของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง เรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ ในลักษณะของ เอลฟ์ประจำบ้าน", "title": "เอลฟ์" }, { "docid": "209984#0", "text": "เอลฟ์ประจำบ้านเป็นสิ่งมีชีวิตในจินตนาการของเจ.เค.โรว์ลิ่ง ปรากฏในนิยายและภาพยนตร์เรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ มีลักษณะเป็นภูตวิเศษขนาดเล็กที่สิงอยู่ในบ้านที่มีขนาดใหญ่ ทำหน้าที่คอยดูแลรับใช้คนในตระกูลเวทมนตร์ ซึ่งจะทำหน้าที่นี้ไปจนกว่ามันจะตาย เอลฟ์ประจำบ้านจะภาคภูมิใจในหน้าที่ของตน และจะไม่ทรยศต่อครอบครัวของตน", "title": "เอลฟ์ประจำบ้าน" }, { "docid": "198618#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (Harry Potter and the Half-Blood Prince) ภาพยนตร์ภาคที่ 6 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยมีเดวิด แบร์รอน กับไมเคิล โกลเดนเบิร์กเป็นผู้อำนวยการสร้าง และสตีฟ โคลฟเขียนบทภาพยนตร์ จากนิยายโดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งตอนแรกมีโปรแกรมให้ผู้กำกับที่ชื่อ กิลเลโม เดล โทโร มาเป็นผู้กำกับ แต่ได้รับการปฏิเสธถึง 2 ครั้ง ทำให้เดวิด เยตส์ผู้กำกับคนก่อนมากำกับในภาคนี้และจะเป็นผู้กำกับในแฮร์รี่ พอตเตอร์ในภาคที่เหลือทั้งหมด ", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (ภาพยนตร์)" }, { "docid": "338365#0", "text": "โทมัส แอนดรูว์ \"ทอม\" เฟลตัน () (เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน 1987) เป็นนักแสดงและนักดนตรีชาวอังกฤษ ทอมเป็นที่รู้จักในบทบาทของ เดรโก มัลฟอย ตัวละครในภาพยนตร์เรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ ภาพยนตร์ที่สร้างมาจากหนังสือขายดีของ เจ.เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งตัวเขาได้เข้ารับการออดิชั่นเมื่ออายุได้ 12 ปี", "title": "ทอม เฟลตัน" }, { "docid": "381610#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 2 () เป็นภาพยนตร์แฟนตาซี-ผจญภัยภาคต่อในปี พ.ศ. 2554 ที่ดัดแปลงจากบทประพันธ์ชื่อเดียวกันของเจ. เค. โรว์ลิ่ง อันเป็นตอนสุดท้ายของหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ภาค 2" }, { "docid": "10882#0", "text": "แฮร์รี่ เจมส์ พอตเตอร์</b>เกิดเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 (วันเดือนเดียวกับผู้แต่ง เจ. เค. โรว์ลิ่ง ได้เขียนให้แฮร์รี่เกิดวันเดียวกันกับเธอแต่คนละปี) เป็นลูกชายคนเดียวของเจมส์ พอตเตอร์และลิลี่ พอตเตอร์ เป็นตัวละครเอกในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์ (ตัวละคร)" }, { "docid": "197689#45", "text": "ผู้เขียนที่ใช้นามแฝงว่า \"แรบบิท\" นั้น ได้แรงบันดาลใจมาจาก งานเขียนของเจ. เค. โรว์ลิ่ง นักเขียนเจ้าของผลงานวรรณกรรมก้องโลก แฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ และประสบความสำเร็จในประเทศไทยอย่างมาก รวมไปถึงเรื่อง The Book of Three ของ Lloyd Alexander ซึ่งเป็นเรื่องราวของเจ้าชายกับคนเลี้ยงหมู ก็เป็นอีกหนึ่งแรงบันดาลใจให้ผู้เขียน", "title": "หัวขโมยแห่งบารามอส" }, { "docid": "399419#8", "text": "ในเล่มสุดท้ายกระทรวงถูกครอบงำโดยเหล่าผู้เสพความตายและได้มีการแต่งตั้งให้เซเวอรัส สเนปเป็นอาจารย์ใหญ่แทนมักกอนนากัลที่เป็นว่าที่อาจารย์ใหญ่ในเวลานั้น และสเนปเข้ายึดครองฮอกวอตส์ ในวันที่แฮร์รี่บุกฮอกวอตส์มักกอนนากัลถูกพี่น้องแคร์โรว์ถ่มน้ำลายใส่แต่แฮร์รี่ก็ออกมาช่วยแก้แค้น ทำให้พี่น้องแคร์โรว์หมดสภาพ มักกอนนากัลยังเปิดศึกการต่อสู้กับสเนปอย่างดุเดือดจนระเบียงพังพินาศ แต่สเนปหนีไปได้ มักกอนนากัลได้ต่อสู้ในสงครามฮอกวอตส์ในการเจอกับโวลเดอมอร์จนเกือบพลาดท่า แต่แฮร์รี่มาช่วยไว้ได้ ภายหลังฮอกวอตส์สงบสุขมักกอนนากัลขึ้นเป็นอาจารย์ใหญ่ของฮอกวอตส์ ภายหลังความดีของสเนปถูกเปิดเผยและสเนปได้รับการยอมรับจากทุกคน และเธอได้พบบันทึกของดัมเบิลดอร์ที่เขียนไว้เกี่ยวกับนิทานของบีเดิลยอดกวี เธอจึงนำบันทึกดังกล่าวตีพิมพ์ให้กับเจ. เค. โรว์ลิ่ง", "title": "บุคลากรฮอกวอตส์" }, { "docid": "20557#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ คือหนังสือเล่มที่สองของหนังสือชุด\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" ที่แต่งโดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง เป็นเรื่องของชีวิตของแฮร์รี่ในการเรียนปีที่สองในโรงเรียนฮอกวอตส์ ปีนี้มีข้อความลึกลับปรากฏขึ้นบนกำแพงทางเดิน เตือนว่า \"ห้องแห่งความลับ\" ถูกเปิดแล้ว และ \"ทายาทของสลิธีริน\" จะออกสังหารเด็กนักเรียนที่ไม่ได้มาจากครอบครัวสายเลือดเวทมนตร์ และมีเหตุประหลาดที่ทำให้คนในโรงเรียนหลายคนกลายเป็นหิน ตลอดปีนี้ทั้งแฮร์รี่ และเพื่อนของเขาได้แก่รอน และเฮอร์ไมโอนี่ ต้องออกสอบสวนสาเหตุของเหตุร้ายในครั้งนี้", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ" }, { "docid": "556733#0", "text": "เก้าอี้ว่าง () เป็นนวนิยายสะท้อนสังคม เขียนโดยเจ. เค. โรว์ลิ่ง วางจำหน่ายในประเทศไทยเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2556 ซึ่งเก้าอี้ว่างถือเป็นนวนิยายผู้ใหญ่เล่มแรกของโรว์ลิ่ง หลังจากเธอใช้เวลาเขียนวรรณกรรมเยาวชนอย่างแฮร์รี่ พอตเตอร์มาเป็นเวลานานถึง 17 ปี ตัวนิยายมีเนื้อหาสะท้อนสังคม ตีแผ่ด้านมืดในจิตใจมนุษย์ ปัญหาต่างๆในสังคม ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ปัญหาของวัยรุ่น ยาเสพติด เซ็กซ์", "title": "เก้าอี้ว่าง" }, { "docid": "77255#0", "text": "อัลบัส เพอร์ซิวาล วูลฟริก ไบรอัน ดัมเบิลดอร์ (Albus Percival Wulfric Brian Dumbledore) เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุด\"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง มีบทบาทเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ในเนื้อหาเกือบทั้งหมดของเรื่อง ต่อมามีการเปิดเผยในเนื้อเรื่องว่าดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้งภาคีนกฟีนิกซ์ซึ่งเป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อต่อสู้กับตัวร้ายของเรื่องคือลอร์ดโวลเดอมอร์", "title": "อัลบัส ดัมเบิลดอร์" }, { "docid": "4336#69", "text": "หมวดหมู่:งานเขียนของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง ฮ ฮ ฮ ฮ หมวดหมู่:วรรณกรรมที่สร้างเป็นภาพยนตร์ หมวดหมู่:นวนิยายอังกฤษดัดแปลงเป็นภาพยนตร์", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "155361#10", "text": "อะเล็กโต แคร์โรว์ (Alecto Carrow) เป็นตัวละครในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง แคร์โรว์ในตอนเริ่มเรื่อง เป็นอาจารย์สอนวิชามักเกิ้ลศึกษา และรองอาจารย์ใหญ่ในโรงเรียนพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ชั่วคราว", "title": "ผู้เสพความตาย" }, { "docid": "17410#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี คือหนังสือเล่มที่สี่ในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดยงามพรรณ เวชชาชีวะจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และเป็นฉบับภาษาไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 วรรณกรรมชุดนี้ถือว่ายาวมากอย่างไม่น่าจะมีใครทำมาก่อน โดยในฉบับภาษาไทยมีความยาวทั้งหมดถึง 832 หน้า (ฉบับบลูมส์บูรี่มีความยาวทั้งหมด 636 หน้า) หนังสือเล่มนี้สร้างสถิติโดยเป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนมากกว่าชิ้นงานวรรณกรรมเยาวชนอื่นๆ มีเพียงหนังสือเล่มต่อๆ มาในชุดเดียวกันนี้เท่านั้นที่สามารถลบสถิตินี้ได้ นั่นคือแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยเฉพาะจากการที่ เจ. เค. โรว์ลิ่งออกมาเตือนผู้อ่านก่อนหนังสือจะตีพิมพ์ว่าจะมีตัวละครเสียชีวิตในเล่มนี้ ซึ่งสร้างกระแสของการคาดการณ์ว่าตัวละครใดจะเสียชีวิต และสร้างปรากฏการณ์ 'คลั่งแฮร์รี่ พอตเตอร์' ทั่วโลก", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี" }, { "docid": "180227#1", "text": "เดิมที เจ. เค. โรว์ลิ่ง ผู้เขียนได้จัดทำหนังสือเล่มนี้ขึ้นด้วยมือเพียง 7 เล่มในโลกเท่านั้น โดยหกเล่มนั้นเธอนำไปบริจาคให้กับ 6 สถานที่ที่ช่วยให้เธอประสบความสำเร็จ และอีกหนึ่งเล่มเธอนำไปประมูลขาย โดยก็มีผู้ร่วมประมูลมากมาย แต่ในที่สุดเว็บไซต์ Amazon ก็ได้ไปในราคาถึง 1.95 ล้านปอนด์ ซึ่งถือว่าเป็นการประมูลต้นฉบับงานเขียนยุคใหม่ที่ราคาสูงที่สุดในประวัติศาสตร์", "title": "นิทานของบีเดิลยอดกวี" }, { "docid": "83609#12", "text": "ล่าสุดนิตยสารฟอร์บส์เปิดเผยข้อมูลว่าโอปราห์คือสตรีผู้ร่ำรวยที่สุดในวงการบันเทิง ด้วยสินทรัพย์ประมาณ 2,500 ล้านดอลลาร์ ทิ้งห่างอันดับ 2 \"เจ. เค. โรว์ลิ่ง\" นักเขียนชาวอังกฤษเจ้าของวรรณกรรมเยาวชนขายดี \"แฮรี่ พอตเตอร์\" ที่มีสินทรัพย์ประมาณ 1,000 ล้านดอลลาร์ และอันดับ 3 คือ \"มาร์ธา สจ๊วต\" นักธุรกิจหญิงชาวอเมริกัน ซึ่งมีสินทรัพย์ประมาณ 600 ล้านดอลลาร์ ", "title": "โอปราห์ วินฟรีย์" }, { "docid": "25299#0", "text": "เฮอร์ไมโอนี่ จีน เกรนเจอร์ (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2522) เป็นตัวละครในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง", "title": "เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์" }, { "docid": "209021#0", "text": "ลำดับเวลาในแฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นลำดับเวลาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวรรณกรรมเยาวชนชุด \"แฮร์รี่ พอตเตอร์\" โดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง โดยลำดับเวลาดังกล่าวจะครอบคลุมถึงเหตุการณ์ที่ปรากฏในงานเขียนด้วย โดยเพิ่มเติมจากที่โรวลิ่งโพสต์ในเว็บไซต์ของเธอ จากการให้สัมภาษณ์หลายครั้งและจากสื่อสิ่งพิมพ์อื่น", "title": "ลำดับเวลาในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "399419#1", "text": "มิเนอร์ว่า มักกอนนากัล (Minerva McGonagall) เป็นตัวละครในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง ในตอนเริ่มเรื่อง มักกอนนากัลเป็นอาจารย์สอนวิชาแปลงร่าง อาจารย์ประจำบ้านกริฟฟินดอร์ และรองอาจารย์ใหญ่ในโรงเรียนพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์", "title": "บุคลากรฮอกวอตส์" }, { "docid": "195305#0", "text": "สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่ () เป็นหนังสือชุดพิเศษในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่เขียนโดยเจ. เค. โรว์ลิ่ง ซึ่งเขียนมอบให้แก่การกุศล โดยสมมติว่าหนังสือเล่มนี้เป็นสมบัติของแฮร์รี่ พอตเตอร์ ในหนังสือเล่มนี้เป็นของโรงเรียนฮอกวอตส์ที่นักเรียนปีหนึ่งทุกคนต้องซื้อ มีชื่อสัตว์เรียงลำดับตัวอักษร A ถึง Z ที่มีชีวิตอยู่ และยังแยกประเภทความดุร้ายไว้ด้วย รวมถึงบอกเล่าความเป็นมาอย่างละเอียดของสัตว์วิเศษหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น บาสิลิสก์ ฮิปโปกริฟฟ์ เซนเทอร์ ยูนิคอร์น กัปปะ พิกซี่ มนุษย์หมาป่า เป็นต้น รายได้ของหนังสือเล่มนี้ได้ถูกมอบให้แก่การกุศล", "title": "สัตว์มหัศจรรย์และถิ่นที่อยู่" }, { "docid": "57587#0", "text": "ลอร์ดโวลเดอมอร์ (; ) เป็นตัวละครร้ายในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง ปรากฏตัวครั้งแรกในตอน\"แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์\" มีชื่อเดิมว่า ทอม มาร์โวโล่ ริดเดิ้ล และเป็นผู้สืบสกุลของซัลลาซาร์ สลิธีริน คนสุดท้าย โวลเดอมอร์เป็นตัวละครที่ได้รับการโหวตให้เป็นตัวละครร้ายอันดับหนึ่งทั้งในวรรณกรรมและในภาพยนตร์", "title": "ลอร์ดโวลเดอมอร์" }, { "docid": "315583#5", "text": "ในงานเปิดตัวของสวนสนุก บอนนี่ ไรท์ (จินนี่ วีสลีย์) ทอม เฟลตัน (เดรโก มัลฟอย) กับฝาแฝดเจมส์และโอลิเวอร์ เฟลส์ป (เฟร็ดกับจอร์จ วีสลีย์) ได้ตอบรับคำเชิญและจะมาร่วมงานครั้งนี้ด้วย และมีแนวโน้มว่า เจ. เค. โรว์ลิ่ง ก็อาจจะมาด้วยเช่นกัน[1]", "title": "โลกมหัศจรรย์ของแฮร์รี่ พอตเตอร์ (ยูนิเวอร์แซลออร์แลนโดรีสอร์ต)" }, { "docid": "180227#0", "text": "นิทานของบีเดิลยอดกวี (The Tales of Beedle the Bard) เป็นหนังสือนิทานเด็ก ที่แต่งโดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง เพื่อเป็นหนังสือประกอบสำหรับนิยายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดยหนังสือเล่มนี้ เป็นหนังสือสมมติที่ถูกอ้างถึงใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นนิยายเล่มสุดท้ายในชุดอีกด้วย", "title": "นิทานของบีเดิลยอดกวี" }, { "docid": "210465#4", "text": "ปฏิญาณไม่คืนคำ (unbreakable vow) เป็นการสัญญาชนิดหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในเรื่องแฮร์รี่ พอตเตอร์ที่เขียนโดยเจ. เค. โรว์ลิ่ง คำสัญญานี้เป็นการปฏิญาณชนิดหนึ่งของโลกพ่อมด มันไม่ใช่แค่การปฏิญาณสัญญาธรรมดาแต่ถ้าพ่อมดแม่มดตกลงจะทำปฏิญาณไม่คืนคำแล้วพวกเขาจะไม่สามารถยกเลิกมันได้ การทำปฏิญาณไม่คืนคำนี้จะต้องมีผู้เข้าร่วมสามคนขึ้นไปเพื่อยินยอมการปฏิญาณ หากผู้ที่ยินยอมทำปฏิญาณไม่คืนคำผิดสัญญาไม่ทำตามที่สัญญาไว้คนผู้นั้นจะต้องตาย การปฏิญาณจะเริ่มด้วยการที่พ่อมดแม่มดสองฝ่ายจับมือกัน หลังจากนั้นผู้ที่ต้องการให้อีกฝ่ายปฏิญาณจะบอกสิ่งที่ต้องการและถามเขาว่าจะทำตามหรือไม่ เช่น \"ข้าขอให้ท่านช่วยปกป้องลูกชายของข้า ไม่ว่าเขาจะตกอยู่ในอันตรายแค่ไหนก็ตาม ท่านจะตกลงไหม\"อีกฝ่ายก็จะต้องตอบตกลง เช่น \"ข้าจะทำมัน\" เมื่อปฏิญาณเสร็จ คนที่อยู่ข้างๆก็จะใช้ไม้กายสิทธิ์แตะที่แขนของผู้ปฏิญาณ หลังจากนั้นก็จะเกิดเปลวไฟเป็นวงล้อมรอบแขนของทั้งสองคน เป็นเครื่องหมายของการผูกมิตรและการไม่คืนคำ", "title": "เวทมนตร์ในแฮร์รี่ พอตเตอร์" }, { "docid": "142621#7", "text": "ความนิยมในวรรณกรรมจินตนิมิตยังคงสืบเนื่องต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 21 ซึ่งเกิดปรากฏการณ์หนังสือขายดีที่สุด จากเรื่อง \"แฮร์รี่ พ็อตเตอร์\" ผลงานของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง ขณะเดียวกัน ภาพยนตร์ที่ดัดแปลงจากวรรณกรรมจินตนิมิตก็เกิดขึ้นมากและประสบผลสำเร็จหลายเรื่อง เรื่องที่โดดเด่นที่สุดได้แก่ ภาพยนตร์ไตรภาคเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของผู้กำกับภาพยนตร์ ปีเตอร์ แจ็กสัน", "title": "จินตนิมิต" }, { "docid": "107228#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์ (Harry Potter and the Order of the Phoenix) คือหนังสือเล่มที่ห้าในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลเป็นภาษาไทยโดยสุมาลี จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ เป็นภาคที่ยาวที่สุด ออกวางจำหน่ายเมื่อ 21 มิถุนายน ค.ศ. 2003", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์" }, { "docid": "197313#0", "text": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน () ภาพยนตร์ลำดับที่ 3 โดยวอร์เนอร์ บราเดอร์ส พิกเจอร์ส จากวรรณกรรมเยาวชน แฮร์รี่ พอตเตอร์ และ คริส โคลัมบัส ผู้กำกับภาคที่ 1 และ 2 กับเดวิด เฮย์แมนเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ จากนิยายโดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง นำแสดงโดย แดเนียล แรดคลิฟฟ์, รูเพิร์ท กรินท์, เอ็มม่า วัตสัน,ไมเคิล แกรมบอลล์ ที่มารับตำแหน่งดัมเบิลดอร์แทนคนก่อนเนื่องจาก คนรับตำแหน่งดัมเบิลดอร์คนก่อนเสียชีวิต ", "title": "แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน (ภาพยนตร์)" } ]
6
"บางรักซอย 9/1 เป็นเรื่องราวความรักคว(...TRUNCATED)
[{"docid":"5152#0","text":"บางรักซอย 9/1 เป็นละครโทรทั(...TRUNCATED)
[{"docid":"153664#3","text":"วันหนึ่งหลังจากที่ชัดเจ(...TRUNCATED)
8
"ใครเป็นผู้ก่อตั้ง สโมสรฟุตบอลชลบุ(...TRUNCATED)
[{"docid":"52283#3","text":"ต่อมาเมื่อทาง สมาคมกีฬาจ(...TRUNCATED)
[{"docid":"834094#0","text":"สโมสรฟุตบอลชลบุรี บี () เป็(...TRUNCATED)
10
"พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 เสียชีวิตเมื่อไ(...TRUNCATED)
[{"docid":"78492#0","text":"จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่ง(...TRUNCATED)
[{"docid":"154233#3","text":"พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงพร(...TRUNCATED)
12
สายใยแก้วนำแสงคืออะไร?
[{"docid":"548193#0","text":"ใยแก้วนำแสง หรือ ออปติกไฟ(...TRUNCATED)
[{"docid":"95911#27","text":"พ.ศ. ๒๓๗๐ (จ.ศ. ๑๑๘๙) ทรงอัญเช(...TRUNCATED)
13
จังหวัดมุกดาหารมีกี่อำเภอ?
[{"docid":"2854#3","text":"การปกครองแบ่งออกเป็น 7 อำเ(...TRUNCATED)
[{"docid":"419061#1","text":"หลังจากที่ประเทศไทยเปลี(...TRUNCATED)
14
ขนมปังขิงมีส่วนผสมของขิงหรือไม่?
[{"docid":"26348#2","text":"นอกจากจะใช้น้ำผึ้งเป็นสา(...TRUNCATED)
[{"docid":"26348#3","text":"สูตรขนมขิงส่วนใหญ่จะมีปร(...TRUNCATED)
README.md exists but content is empty. Use the Edit dataset card button to edit it.
Downloads last month
0
Edit dataset card