File size: 4,915 Bytes
3c90236
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
Book,Page,LineNumber,Text
30,0004,001,(ความดำริผิด)  มิจฉาวายามะ  (ความพยายามผิด)  มิจฉาสติ   (ความระลึกผิด)
30,0004,002,มิจฉาสมาธิ  (ความตั้งใจผิด)    มิจฉากัมมันตะ   (การงานผิด).    เมื่อใด   จิต
30,0004,003,ไม่ประกอบด้วยทิฏฐิ     เมื่อนั้นมีองค์  ๕  เว้นมิจฉาทิฏฐิ.     เมื่อใดสององค์
30,0004,004,เหล่านั้นแล    ย่อมยังวจีวิญญัติให้ตั้งขึ้น   เมื่อนั้น   ย่อมมีองค์ ๖ หรือองค์ ๕
30,0004,005,ตั้งอยู่ในมิจฉาวาจา    ในฐานะมิจฉากัมมันตะ    ชื่อว่า   อาชีวะนี้    เมื่อกำเริบ
30,0004,006,ย่อมกำเริบในกายทวารและวจีทวารในทวารใดทวารหนึ่งเท่านั้น     หากำเริบใน
30,0004,007,มโนทวารไม่.    เพราะฉะนั้น    องค์ ๖ หรือองค์ ๕ เหล่านั้นแล    ย่อมมีด้วย
30,0004,008,อำนาจ  มิจฉาชีวะว่า  เมื่อใด  จิตเหล่านั้นแล   ย่อมยังกายวิญญัติและวจีวิญญัติ
30,0004,009,ให้ตั้งขึ้น   โดยมุ่งถึงอาชีวะ  เมื่อนั้น  กายกรรม  จึงชื่อว่า  มิจฉาชีวะ  วจีกรรม
30,0004,010,ก็อย่างนั้น.    ก็เมื่อใดจิตเหล่านั้น   ย่อมเกิดขึ้น   เพราะไม่ยังวิญญติให้ตั้งขึ้น
30,0004,011,เมื่อนั้นย่อมมีองค์ ๕   ด้วยสามารถแห่งมิจฉาทิฏฐิ     มิจฉาสังกัปปะ     มิจฉา-
30,0004,012,วายามะ    มิจฉาสติ     และมิจฉาสมาธิ     หรือองค์ ๔ ด้วยสามารถแห่งมิจฉา
30,0004,013,สังกัปปะเป็นต้น  ดังนั้น  องค์ทั้งหลายเหล่านั้น   ย่อมไม่เกิดในขณะเดียวกัน
30,0004,014,ทั้งหมด   ย่อมเกิดในขณะต่าง ๆ กันอย่างนี้    ด้วยประการฉะนี้แล.
30,0004,015,ในสุกกปักข์   บทว่า  <B>วิชฺชา</B>  ได้แก่   รู้ความที่สัตว์มีกรรมเป็นของ ๆ
30,0004,016,ตน.    แม้ในวิชชานี้     พึงทราบความที่วิชชาเป็นหัวหน้า    โดยอาการ ๒ คือ
30,0004,017,ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัย ๑  ด้วยอำนาจอุปนิสสยปัจจัย ๑.   บทว่า  <B>หิโรตฺตปฺปํ</B>
30,0004,018,ได้แก่    ความละอายบาป    และความกลัวบาป.    ในธรรม ๒  อย่างนั้น   หิริ
30,0004,019,ตั้งอยู่ด้วยอาการแห่งความละอาย   โอตตัปปะ   ตั้งอยู่ด้วยอาการแห่งความกลัว.
30,0004,020,นี้เป็นความสังเขปในข้อนี้.   ส่วนความพิสดาร   ท่านกล่าวในวิสุทธิมรรคแล้ว
30,0004,021,แล.     บทว่า   <B>วิชฺชาคตสฺส</B>  ได้แก่  สัมมาทิฏฐิ      ย่อมเกิดมีแก่ผู้เข้าถึงคือ
30,0004,022,ประกอบด้วยวิชชา.   บทว่า  <B>วิทฺทสุโน</B>  ได้แก่  ผู้รู้แจ้งคือบัณฑิต.    บทว่า
30,0004,023,<B>สมฺมาทิฏ€ิ</B>  ได้แก่ความเห็นตามเป็นจริง    คือความเห็นนำสัตว์ให้พ้นทุกข์.