uisp commited on
Commit
3c90236
1 Parent(s): e0391be
This view is limited to 50 files because it contains too many changes.   See raw diff
01/010001.csv ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0001,001,<H1>พระวินัยปิฎก
3
+ 01,0001,002,เล่ม ๑
4
+ 01,0001,003,มหาวิภังค์ ปฐมภาค</H1>
5
+ 01,0001,004,<H4>ขอน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น</H4>
6
+ 01,0001,005,<H1> เวรัญชภัณฑ์</H1>
7
+ 01,0001,006,<h1>เรื่องเวรัญชพราหมณ์</h1>
8
+ 01,0001,007,[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ
9
+ 01,0001,008,ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่
10
+ 01,0001,009,ประมาณ ๕๐๐ รูป เวรัญชพราหมณ์ได้สดับข่าวถนัดแน่ว่า ท่านผู้เจริญ
11
+ 01,0001,010,พระสมณโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยตระกูล ประทับอยู่ ณ บริเวณ
12
+ 01,0001,011,ต้นไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่
13
+ 01,0001,012,ประมาณ ๕๐๐ รูป ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองค์นั้น
14
+ 01,0001,013,ขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์แม้
15
+ 01,0001,014,เพราะเหตุนี้ ทรงตรัสรู้เองโดยชอบแม้เพราะเหตุนี้ทรงบรรลุวิชชาและจรณะ
16
+ 01,0001,015,แม้เพราะเหตุนี้ เสด็จไปดีแม้เพราะเหตุนี้ ทรงทราบโลกแม้เพราะเหตุนี้
17
+ 01,0001,016,ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นศาสดา
18
+ 01,0001,017,ของเทพและมนุษย์ ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพุทธะแม้เพราะเหตุนี้
19
+ 01,0001,018,ทรงเป็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแม้เพราะเหตุนี้ พระองค์ทรงทำโลกนี้พร้อมทั้ง
01/010002.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0002,001,เทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัดด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง
3
+ 01,0002,002,แล้วทรงสอนหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ให้รู้ ทรง
4
+ 01,0002,003,แสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศ
5
+ 01,0002,004,พรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์บริสุทธิ์ อนึ่ง การเห็น
6
+ 01,0002,005,พระอรหันต์ทั้งหลายเห็นปานนั้น เป็นความดี
7
+ 01,0002,006,<h1>เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า</h1>
8
+ 01,0002,007,[๒] หลักจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำนัก ครั้นถึงแล้ว
9
+ 01,0002,008,ได้ทูลปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่
10
+ 01,0002,009,บันเทิงเป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์
11
+ 01,0002,010,นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ท่าน
12
+ 01,0002,011,พระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณโคดมไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวก
13
+ 01,0002,012,พราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงการผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญ
14
+ 01,0002,013,ด้วยอาสนะ ข้อที่ข้าพเจ้าทราบมานี้นั้นเป็นเช่นนั้นจริง อันการที่ท่านพระโคดม
15
+ 01,0002,014,ไม่ไหว้ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาลผ่านวัยมา
16
+ 01,0002,015,โดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะนี้นั้น ไม่สมควรเลย.
17
+ 01,0002,016,พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ ในโลก ทั้งเทวโลก
18
+ 01,0002,017,มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์
19
+ 01,0002,018,เราไม่เล็งเห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควรลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญด้วยอาสนะ
20
+ 01,0002,019,เพราะว่าตถาคตพึงไหว้ พึงลุกรับ หรือพึงเชื้อเชิญบุคคลใดด้วยอาสนะ แม้
21
+ 01,0002,020,ศีรษะของบุคคลนั้นก็พึงขาดตกไป.
22
+ 01,0002,021,ว. ท่านพระโคดมมีปกติไม่ไยดี
01/010003.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0003,001,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
3
+ 01,0003,002,มีปกติไม่ไยดี ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิ่น รส
4
+ 01,0003,003,โผฏฐัพพะเหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือน
5
+ 01,0003,004,ตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล
6
+ 01,0003,005,เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี้ชื่อว่ากล่าวถูก
7
+ 01,0003,006,แต่ไม่ใช้เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว
8
+ 01,0003,007,ว. ท่านพระโคดมไม่มีสมบัติ.
9
+ 01,0003,008,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
10
+ 01,0003,009,ไม่มีสมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิ่น รส
11
+ 01,0003,010,โผฏฐัพพะเหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือน
12
+ 01,0003,011,ตาลยอดด้วย ทำไม่ให้มีภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล
13
+ 01,0003,012,เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่
14
+ 01,0003,013,ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
15
+ 01,0003,014,ว. ท่านพระโคดมกล่าวการไม่ทำ.
16
+ 01,0003,015,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
17
+ 01,0003,016,กล่าวการไม่ทำ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต
18
+ 01,0003,017,วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการไม่ทำสิ่งที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล
19
+ 01,0003,018,เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมกล่าวการไม่ทำ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก
20
+ 01,0003,019,แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว
21
+ 01,0003,020,ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสูญ.
22
+ 01,0003,021,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
23
+ 01,0003,022,กล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง
01/010004.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0004,001,ราคะ โทสะ โมหะ เรากล่าวความขาดสูญแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง
3
+ 01,0004,002,นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมกล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่า
4
+ 01,0004,003,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว
5
+ 01,0004,004,ว. ท่านพระโคดมช่างรังเกียจ.
6
+ 01,0004,005,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
7
+ 01,0004,006,ช่างรังเกียจ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต
8
+ 01,0004,007,มโนทุจริต เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง
9
+ 01,0004,008,นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมช่างรังเกียจ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก
10
+ 01,0004,009,แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว
11
+ 01,0004,010,ว. ท่านพระโคดมช่างกำจัด
12
+ 01,0004,011,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
13
+ 01,0004,012,ช่างกำจัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัด ราคะ โทสะ
14
+ 01,0004,013,โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำจัดสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่
15
+ 01,0004,014,เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมช่างจำกัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่
16
+ 01,0004,015,เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
17
+ 01,0004,016,ว. ท่านพระโคดมช่างเผาผลาญ
18
+ 01,0004,017,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
19
+ 01,0004,018,ช่างเผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล
20
+ 01,0004,019,คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่าเป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ ธรรมที่
21
+ 01,0004,020,เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผาผลาญ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็น
22
+ 01,0004,021,เหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
23
+ 01,0004,022,เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนช่างเผาผลาญพราหมณ์ ธรรมทั้งหลายที่เป็นบาป-
01/010005.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0005,001,อกุศล ซึ่งควรเผาผลาญ ตถาคตละได้แล้ว ตักรากขาดแล้ว ทำให้เป็น
3
+ 01,0005,002,เหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
4
+ 01,0005,003,นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมช่างเผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่า
5
+ 01,0005,004,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว
6
+ 01,0005,005,ว. ท่านพระโคดมไม่ผุดเกิด.
7
+ 01,0005,006,ภ. มีอยู่จริง ๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม
8
+ 01,0005,007,ไม่ผุดเกิดดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดใน
9
+ 01,0005,008,ภพใหม่ อันผู้ใดละได้แล้วแล้ว ตัดรากขาดแล้วทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน
10
+ 01,0005,009,ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคน
11
+ 01,0005,010,ไม่ผุดเกิด พราหมณ์ การนอนในครรภ์ต่อไปการเกิดในภพใหม่ ตถาคต
12
+ 01,0005,011,ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วนทำไม่ให้มีใน
13
+ 01,0005,012,ภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า
14
+ 01,0005,013,พระสมณโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
15
+ 01,0005,014,<h1>ทรงอุปมาด้วยลูกไก่</h1>
16
+ 01,0005,015,[๓] ดูก่อนพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ
17
+ 01,0005,016,๑๒ ฟอง ฟองไก่เหล่านั้น อันแม่ไก่พึงกกดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดา
18
+ 01,0005,017,ลูกไก่เหล่านั้น ลูกไก่ตัวใดทำลายกระเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วย
19
+ 01,0005,018,จะงอยปากออกมาได้โดยสวัสดีก่อนกว่าเขา ลูกไก่ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร
20
+ 01,0005,019,จะเรียกว่าพี่หรือน้อง.
21
+ 01,0005,020,ว. ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา.
01/010006.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0006,001,<h2>ทรงแสดงฌานสี่และวิชชาสาม</h2>
3
+ 01,0006,002,ภ. เราก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ใน
4
+ 01,0006,003,อวิชชาเกิดในฟอง อันกระเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลาย
5
+ 01,0006,004,กระเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม
6
+ 01,0006,005,เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่
7
+ 01,0006,006,ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่กระสับ-
8
+ 01,0006,007,กระส่าย จิตตั้งมั่นมีอารมณ์เป็นหนึ่ง.
9
+ 01,0006,008,<H2>ปฐมฌาน</H2>
10
+ 01,0006,009,เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุ
11
+ 01,0006,010,ปฐมฌานมีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่.
12
+ 01,0006,011,<H2>ทุติยฌาน</H2>
13
+ 01,0006,012,เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ฯ ภายใน เป็นธรรมเอก
14
+ 01,0006,013,ผุดขึ้นไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิด
15
+ 01,0006,014,แต่สมาธิอยู่.
16
+ 01,0006,015,<H2>ตติยฌาน</H2>
17
+ 01,0006,016,เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะ
18
+ 01,0006,017,ปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา
19
+ 01,0006,018,มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้.
20
+ 01,0006,019,<H2>จตุตถฌาน</H2>
21
+ 01,0006,020,เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และ
22
+ 01,0006,021,ดับโสมนัสโทมนัสก่อน ๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่.
01/010007.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0007,001,<h2>บุพเพนิวาสานุสติญาณ</h2>
3
+ 01,0007,002,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจาก
4
+ 01,0007,003,อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิต
5
+ 01,0007,004,ไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสติญาณ เรานั้นย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ
6
+ 01,0007,005,ระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง
7
+ 01,0007,006,สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติ ห้าสิบชาติบ้าง
8
+ 01,0007,007,ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ว่า
9
+ 01,0007,008,ตลอดวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ว่า
10
+ 01,0007,009,ในภพนั้นเราได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหาร
11
+ 01,0007,010,อย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้น ๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพ
12
+ 01,0007,011,นั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพโน้นนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น
13
+ 01,0007,012,มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่าง
14
+ 01,0007,013,นั้น ๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพโน้นนั้นแล้ว ได้มาเกิดใน
15
+ 01,0007,014,ภพนี้ ย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอุเทศ พร้อมทั้งอาการ
16
+ 01,0007,015,ด้วยประการฉะนี้ พราหมณ์ วิชชาที่หนึ่งนี่แล เราได้บรรลุแล้วในปฐมยาม
17
+ 01,0007,016,แห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่การแล้ว ความมืด เรา
18
+ 01,0007,017,กำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท
19
+ 01,0007,018,มีความเพียร เผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่หนึ่ง
20
+ 01,0007,019,ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกระเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
21
+ 01,0007,020,<h2>จุตูปปาตญาณ</h2>
22
+ 01,0007,021,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจาก
23
+ 01,0007,022,อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิต
01/010008.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0008,001,ไปเพื่อญาณ เครื่องรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เรานั้นย่อมเล็งเห็น
3
+ 01,0008,002,หมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม
4
+ 01,0008,003,ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพย์จักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์
5
+ 01,0008,004,ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายทุจริต
6
+ 01,0008,005,วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำ
7
+ 01,0008,006,ด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอย่างเหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป
8
+ 01,0008,007,เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก หรือว่าหมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบ
9
+ 01,0008,008,ด้วยการสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ
10
+ 01,0008,009,ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบื้องหน้า
11
+ 01,0008,010,แต่แตกกายตายไป เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ
12
+ 01,0008,011,กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก
13
+ 01,0008,012,ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตาม
14
+ 01,0008,013,กรรมด้วยประการดังนี้ พราหมณ์ วิชาที่สองนี้แล เราได้บรรลุแล้วใน
15
+ 01,0008,014,มัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชาเรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืด
16
+ 01,0008,015,เรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท
17
+ 01,0008,016,มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สองของ
18
+ 01,0008,017,เรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกระเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
19
+ 01,0008,018,<h2>อาสวักขยญาณ</h2>
20
+ 01,0008,019,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจาก
21
+ 01,0008,020,อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิต
22
+ 01,0008,021,ไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตาม
23
+ 01,0008,022,เป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับทุกข์ ได้รู้ชัด
01/010009.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0009,001,ตามเป็นเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้
3
+ 01,0009,002,อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า
4
+ 01,0009,003,นี้ความดับอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ
5
+ 01,0009,004,เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ
6
+ 01,0009,005,ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิต
7
+ 01,0009,006,หลุดพ้นแล้วได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติ
8
+ 01,0009,007,สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อ
9
+ 01,0009,008,ความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์ วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วใน
10
+ 01,0009,009,ปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืด
11
+ 01,0009,010,เรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท
12
+ 01,0009,011,มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สาม
13
+ 01,0009,012,ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกระเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
14
+ 01,0009,013,<h1>เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก</h1>
15
+ 01,0009,014,[๔] เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว เวรัญชพราหมณ์ได้ทูล
16
+ 01,0009,015,คำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ท่านพระโคดมเป็นผู้เจริญที่สุด ท่านพระโคดม
17
+ 01,0009,016,เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ข้าแต่ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก
18
+ 01,0009,017,ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย
19
+ 01,0009,018,อย่างนี้ เปรียบเหมือบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่เปิดบอกทางแก่คน
20
+ 01,0009,019,หลงทางหรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปดังนี้
21
+ 01,0009,020,ข้าพเจ้านี้ขอถึงท่านพระโคดม พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอ
22
+ 01,0009,021,พระองค์จงทรงจำข้าพเจ้าว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้
01/010010.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0010,001,เป็นต้นไป และขอพระองค์พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์จงทรงรับอาราธนาอยู่จำพรรษา
3
+ 01,0010,002,ที่เมืองเวรัญชาของข้าพเจ้าเถิด.
4
+ 01,0010,003,พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับอาราธนาด้วยพระอาการดุษณี ครั้นเวรัญช-
5
+ 01,0010,004,พราหมณ์ทราบการรับอาราธนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ได้ลุกจากที่นั่ง
6
+ 01,0010,005,ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ทำประทักษิณหลีกไป.
7
+ 01,0010,006,<h1>เมืองเวรัญชาเกิดทุพภิกขภัย</h1>
8
+ 01,0010,007,[๕] ก็โดยสมัยนั้นแล เมืองเวรัญชา มีภิกษาหารน้อย ประชาชน
9
+ 01,0010,008,หาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีฉลากซื้ออาหาร
10
+ 01,0010,009,ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย ครั้งนั้น
11
+ 01,0010,010,พวกพ่อค้าม้าชาวอุตราปถะมีม้าประมาณ ๕๐๐ ตัว ได้เข้าพักแรมตลอดฤดูฝน
12
+ 01,0010,011,ในเมืองเวรัชญา พวกเขาได้ตกแต่งข้าวแดงสำหรับภิกษุรูปละแล่งไว้ที่คอกม้า
13
+ 01,0010,012,เวลาเช้าภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสกแล้วถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตใน
14
+ 01,0010,013,เมืองเวรัญชา เมื่อไม่ได้บิณฑบาต จึงเที่ยวไปบิณฑบาตที่คอกม้า รับข้าวแดง
15
+ 01,0010,014,รูปละแล่งนำไปสู่อารามแล้วลงครกโขลกฉัน ส่วนท่านพระอานนท์บดข้าวแดง
16
+ 01,0010,015,แล่งหนึ่งที่ศิลา แล้วน้อมเข้าไปถวายแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ เสวยพระกระ-
17
+ 01,0010,016,ยาหารที่บดถวายนั้นอยู่ได้ทรงสดับเสียงครกแล้ว.
18
+ 01,0010,017,<h2>พระพุทธประเพณี</h2>
19
+ 01,0010,018,พระตถาคตทั้งหลายทรงทราบอยู่ ย่อมตรัสถามก็มี ทรงทราบอยู่
20
+ 01,0010,019,ย่อมไม่ตรัสถามก็มี ทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม
21
+ 01,0010,020,พระตถาคตทั้งหลายย่อมตรัสถามสิ่งที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามสิ่งที่
22
+ 01,0010,021,ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ พระตถาคตทั้งหลายทรงจำกัดสิ่งที่ไม่ประกอบด้วย
01/010011.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0011,001,ประโยชน์ด้วยข้อปฏิบัติ พระผู้มีภาคพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถามภิกษุ
3
+ 01,0011,002,ทั้งหลาย ด้วยอาการสองอย่าง คือ จักทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จักทรงบัญญัติ-
4
+ 01,0011,003,สิขาบทแก่พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง.
5
+ 01,0011,004,ครั้นนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามท่านพระอานนท์ว่า อานนท์
6
+ 01,0011,005,นั่นเสียงครกหรือหนอ จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเนื้อความนั้นให้ทรงทราบ
7
+ 01,0011,006,พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสรรเสริญว่า ดีละ ดีละ อานนท์ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ
8
+ 01,0011,007,ชนะวิเศษแล้ว พวกเพื่อนพรหมจารีชั้นหลังจักดูหมิ่นข้าวสาลีและข้าวสุกอัน
9
+ 01,0011,008,ระคนด้วยเนื้อ.
10
+ 01,0011,009,<h1>พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท</h1>
11
+ 01,0011,010,[๖] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
12
+ 01,0011,011,ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระ-
13
+ 01,0011,012,ภาคเจ้าว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้เมืองเวรัญชามีภิกษาหารน้อย ประชาชน
14
+ 01,0011,013,หาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหารภิกษุสงฆ์
15
+ 01,0011,014,จะยังอัตภาพให้เป็นไป ด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย พระพุทธเจ้าข้า
16
+ 01,0011,015,พื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดินผืนใหญ่นี้ สมบูรณ์ มีรสอันโอชา เหมือนน้ำผึ้งหวี่
17
+ 01,0011,016,ที่ไม่มีตัวอ่อนฉะนั้น ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพึงพลิก
18
+ 01,0011,017,แผ่นดิน ภิกษุทั้งหลายจักได้ฉันง้วนดิน พระพุทธเจ้าข้า.
19
+ 01,0011,018,พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ ก็สัตว์ผู้อาศัย
20
+ 01,0011,019,แผ่นดินเล่า เธอจะทำอย่างไรแก่สัตว์เหล่านั้น.
21
+ 01,0011,020,ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักนิรมิตฝ่ามือข้าหนึ่งให้เป็นดุจแผ่นดินใหญ่ ยัง
22
+ 01,0011,021,สัตว์ผู้อาศัยแผ่นดินเหล่านั้นให้ไปอยู่ในฝ่ามือนั้น จักพลิกแผ่นดินด้วยมืออีก
23
+ 01,0011,022,ข้างหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า.
01/010012.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0012,001,ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การพลิกแผ่นดิน เธออย่าพอใจเลย
3
+ 01,0012,002,สัตว์ทั้งหลายจะพึงได้รับผลตรงกันข้าม.
4
+ 01,0012,003,ม. ขอประทานพระวโรกาส ขอภิกษุสงฆ์ทั้งหมดพึงไปบิณฑบาตใน
5
+ 01,0012,004,อุตรกุรุทวีป พระพุทธเจ้าข้า.
6
+ 01,0012,005,ภ. ก็ภิกษุผู้ไม่มีฤทธิ์เล่า เธอจักทำอย่างไรแก่ภิกษุเหล่านั้น
7
+ 01,0012,006,ม. ข้าพระพุทธเจ้าเจ้าจักทำให้ภิกษุทั้งหมดไปได้ พระพุทธเจ้าข้า.
8
+ 01,0012,007,ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การที่ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดไปบิณฑบาตถึง
9
+ 01,0012,008,อุตรกุรุทวีป เธออย่าพอใจเลย.
10
+ 01,0012,009,<h1>เหตุให้พระศาสนาดำรงอยู่ไม่นานและนาน</h1>
11
+ 01,0012,010,[๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มีความ
12
+ 01,0012,011,ปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
13
+ 01,0012,012,ทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นาน ของพระองค์ไหนดำรงอยู่นาน ดังนี้
14
+ 01,0012,013,ครั้นเวลาสายัณห์ท่านออกจากที่เร้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
15
+ 01,0012,014,ถวายบังคมนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า
16
+ 01,0012,015,ข้าพระพุทธเจ้าไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ณ ตำบลนี้ ได้มีความปริวิตกแห่งจิต
17
+ 01,0012,016,เกิดขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์
18
+ 01,0012,017,ไหน ไม่ดำรงอยู่นาน ของพระองค์ไหนดำรงอยู่นาน.
19
+ 01,0012,018,พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า ดูก่อนสารีบุตร พระศาสนาของ
20
+ 01,0012,019,พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำรง
21
+ 01,0012,020,อยู่นาน ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และ
22
+ 01,0012,021,พระนามกัสสปะดำรงอยู่นาน.
01/010013.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0013,001,ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระ-
3
+ 01,0013,002,ภาคเจ้าพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำรงอยู่นาน
4
+ 01,0013,003,พระพุทธเจ้าข้า.
5
+ 01,0013,004,ภ. ดูก่อนสารีบุตร พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามวิปัสสี พระนามสิขี
6
+ 01,0013,005,และพระนามเวสสภู ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่
7
+ 01,0013,006,สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ
8
+ 01,0013,007,ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งสามพระองค์นั้นมีน้อย
9
+ 01,0013,008,สิขาบทก็มิได้ทรงบัญญัติ ปาฏิโมกข์ก็มิได้ทรงแสดงแก่สาวก เพราะอันตรธาน
10
+ 01,0013,009,แห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตาม
11
+ 01,0013,010,พระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน
12
+ 01,0013,011,ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับพลัน
13
+ 01,0013,012,ดูก่อนสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากอบไว้บนพื้นกระดาน ยังไม่ได้ร้อย
14
+ 01,0013,013,ด้วยด้าย ลมย่อมกระจาย ขจัด กำจัดซึ่งดอกไม้เหล่านั้นได้ ข้อนั้นเพราะเหตุ
15
+ 01,0013,014,อะไร เพราะเขาไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ฉันใด เพราะอันตรธานแห่งพระผู้มี
16
+ 01,0013,015,พระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
17
+ 01,0013,016,เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจาก
18
+ 01,0013,017,ตระกูลต่างกัน จึงยังพระศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับพลันฉันนั้นเหมือนกัน
19
+ 01,0013,018,เพราะพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงกำหนด
20
+ 01,0013,019,จิตของสาวกด้วยพระหฤทัย แล้วทรงสั่งสอนสาวก.
21
+ 01,0013,020,ดูก่อนสารีบุตร เรื่องเคยมีมาแล้ว พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมา-
22
+ 01,0013,021,สัมพุทธเจ้าพระนามเวสสภู ทรงกำหนดจิตภิกษุสงฆ์ด้วยพระหฤทัยแล้วทรง
23
+ 01,0013,022,สั่งสอน พร่ำสอน ภิกษุสงฆ์ประมาณพันรูป ในไพรสณฑ์อันน่าพึงกลัวแห่ง
01/010014.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0014,001,หนึ่งว่า พวกเธอจงตรึกอย่างนี้ อย่าได้ตรึกอย่างนั้น จงทำในใจอย่างนี้
3
+ 01,0014,002,อย่าได้ทำในใจอย่างนั้น จงละส่วนนี้ จงเข้าถึงส่วนนี้อยู่เถิด ดังนี้ ลำดับนั้นแล
4
+ 01,0014,003,จิตของภิกษุประมาณพันรูปนั้น อันพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
5
+ 01,0014,004,พระนามเวสสภูทรงสั่งสอนอยู่อย่างนั้น ทรงพร่ำสอนอยู่อย่างนั้น ได้หลุดพ้น
6
+ 01,0014,005,แล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ในเพราะความที่ไพรสณฑ์อันน่า
7
+ 01,0014,006,พึงกลัวนั้นซิ เป็นถิ่นที่น่าสยดสยองจึงมีคำนี้ว่า ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งยังไม่ปราศจาก
8
+ 01,0014,007,ราคะเข้าไปสู่ไพรสณฑ์นั้น โดยมากโลมชาติย่อมชูชัน.
9
+ 01,0014,008,ดูก่อนสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนา
10
+ 01,0014,009,ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภูไม่ดำรง
11
+ 01,0014,010,อยู่นาน.
12
+ 01,0014,011,ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระ-
13
+ 01,0014,012,ภาคเจ้า พระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดำรง
14
+ 01,0014,013,อยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า.
15
+ 01,0014,014,ภ. ดูก่อนสารีบุตร พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามกกุสันธะ พระนาม
16
+ 01,0014,015,โกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ มิได้ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรม
17
+ 01,0014,016,โดยพิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน
18
+ 01,0014,017,อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งสาม
19
+ 01,0014,018,พระองค์นั้นมีมาก สิขาบทก็ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็ทรงแสดงแก่สาวก
20
+ 01,0014,019,เพราะอันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่ง
21
+ 01,0014,020,สาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน
22
+ 01,0014,021,ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงดำรงพระศาสนานั้นไว้ได้ตลอด
23
+ 01,0014,022,ระยะกาลยืนนาน ดูก่อนสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บนพื้นกระดาน
01/010015.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0015,001,ร้อยดีแล้วด้วยด้าย ลมย่อมกระจายไม่ได้ ขจัดไม่ได้ กำจัดไม่ได้ซึ่งดอกไม้
3
+ 01,0015,002,เหล่านั้นข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาร้อยดีแล้วด้วยด้าย ฉันใด เพราะ
4
+ 01,0015,003,อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวก
5
+ 01,0015,004,ผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน
6
+ 01,0015,005,ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงดำรงพระศาสนานั้นไว้ได้ตลอด
7
+ 01,0015,006,ระยะกาลยืนนาน ฉันนั้นเหมือนกัน.
8
+ 01,0015,007,ดูก่อนสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนา
9
+ 01,0015,008,ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนาม
10
+ 01,0015,009,กัสสปะ ดำรงอยู่นาน.
11
+ 01,0015,010,<h1>ปรารภเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบท</h1>
12
+ 01,0015,011,[๘] ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรลุกจากอาสนะ ทำผ้าอุตราสงค์
13
+ 01,0015,012,เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ประนมอัญชลี ไปทางพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วกราบทูลว่า
14
+ 01,0015,013,ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระสุคต ถึงเวลาแล้ว ที่จะทรงบัญญัติ
15
+ 01,0015,014,สิกขาบท ที่จะทรงแสดงปาติโมกข์แก่สาวก อันจะเป็นเหตุให้พระศาสนานี้
16
+ 01,0015,015,ยั่งยืนดำรงอยู่ได้นาน
17
+ 01,0015,016,พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า จงรอก่อน สารีบุตร จงยับยั้งก่อนสารีบุตร
18
+ 01,0015,017,ตถาคตผู้เดียวจักรู้กาลในกรณีย์นั้น พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่
19
+ 01,0015,018,แสดงปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลาที่ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า
20
+ 01,0015,019,ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ต่อเมื่อใดอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ปรากฏ
21
+ 01,0015,020,ในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์
22
+ 01,0015,021,แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรม
01/010016.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0016,001,บางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็น
3
+ 01,0016,002,หมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนาน ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวช
4
+ 01,0016,003,นานแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้น
5
+ 01,0016,004,พระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐา-
6
+ 01,0016,005,นิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์
7
+ 01,0016,006,ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลายแล้ว ต่อเมื่อใด
8
+ 01,0016,007,สงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า
9
+ 01,0016,008,ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดง
10
+ 01,0016,009,ปาติโมกข์แก่สาวกเพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรม
11
+ 01,0016,010,บางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ไม่ถึงความเป็น
12
+ 01,0016,011,หมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภแล้ว และ
13
+ 01,0016,012,อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดา
14
+ 01,0016,013,จึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวกเพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรม
15
+ 01,0016,014,เหล่านั้นแหละ ดูก่อนสารีบุตร ก็ภิกษุสงฆ์ไม่มีเสนียดไม่มีโทษ ปราศจาก
16
+ 01,0016,015,มัวหมองบริสุทธิ์ผุดผ่องตั้งอยู่ในสารคุณ เพราะบรรดาภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้ ภิกษุ
17
+ 01,0016,016,ที่ทรงคุณธรรมอย่างต่ำ ก็เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยง
18
+ 01,0016,017,เป็นผู้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.
19
+ 01,0016,018,<h1>เสด็จนิเวศน์เวรัญชพราหมณ์</h1>
20
+ 01,0016,019,[๙] ครั้นปวารณาพรรษาแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกท่านพระ
21
+ 01,0016,020,อานนท์มารับสั่งว่า ดูก่อนอานนท์ พระตถาคตทั้งหลายยังมิได้บอกลาผู้ที่นิมนต์
22
+ 01,0016,021,ให้อยู่จำพรรษาแล้ว จะไม่หลีกไปสู่ที่จาริกในชนบท ข้อนี้เป็นประเพณีของ
23
+ 01,0016,022,พระตถาคตทั้งหลาย มาไปกันเถิดอานนท์ เราจะบอกลาเวรัญชพราหมณ์
01/010017.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0017,001,ท่านพระอานนท์ทูลสนองพระพุทธดำรัสว่าเป็นดังรับสั่งพระพุทธเจ้าข้า
3
+ 01,0017,002,ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรมีท่าน
4
+ 01,0017,003,พระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญช-
5
+ 01,0017,004,พราหมณ์ครั้นถึงแล้วประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย ทันใดนั้น
6
+ 01,0017,005,เวรัญชพราหมณ์ดำเนินเข้าไปสู่ที่ประทับ ครั้นแล้วถวายบังคมนั่งเฝ้าอยู่ ณ
7
+ 01,0017,006,ที่ควรส่วนข้างหนึ่งพระองค์รับสั่งว่า ดูก่อนพราหมณ์ เราเป็นผู้อันท่านนิมนต์
8
+ 01,0017,007,อยู่จำพรรษาแล้ว เราขอบอกลาท่าน เราปรารถนาจะหลีกไปสู่ที่จาริกในชนบท.
9
+ 01,0017,008,เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า เป็นความจริง ท่านพระโคดม ข้าพเจ้า
10
+ 01,0017,009,นิมนต์พระองค์อยู่จำพรรษา ก็แต่ว่าไทยธรรมอันใดที่จะพึงถวาย ไทยธรรม
11
+ 01,0017,010,อันนั้นข้าพเจ้ายังมิได้ถวาย และไทยธรรมนั้นมิใช่ว่าจะไม่มี ทั้งประสงค์จะ
12
+ 01,0017,011,ไม่ถวายก็หาไม่ ภายในไตรมาสนี้ พระองค์จะพึงได้ไทยธรรมนั้นจากไหน
13
+ 01,0017,012,เพราะฆราวาสมีกิจมาก มีกรณียะมาก ขอท่านพระโคดมพร้อมด้วยพระสงฆ์
14
+ 01,0017,013,จงทรงพระกรุณาโปรดรับภัตตาหารของข้าพเจ้า เพื่อเจริญบุญกุศลและปีติ
15
+ 01,0017,014,ปราโมทย์ในวันพรุ่งนี้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด.
16
+ 01,0017,015,พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับอัชเฌสนาโดยดุษณีภาพ และแล้วทรงชี้แจง
17
+ 01,0017,016,ให้เวรัญชพราหมณ์เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วทรง
18
+ 01,0017,017,ลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ.
19
+ 01,0017,018,หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์สั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉันอันประณีต
20
+ 01,0017,019,ในนิเวศน์ของตน โดยผ่านราตรีนั้นแล้ว ให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตตกาล
21
+ 01,0017,020,แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ถึงเวลาแล้ว ท่านพระโคดม ภัตตาหารเสร็จแล้ว.
22
+ 01,0017,021,ขณะนั้น เป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอันตรวาสกแล้วถือ
23
+ 01,0017,022,บาตรจีวรเสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้ว
01/010018.csv ADDED
@@ -0,0 +1,15 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0018,001,ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ จึงเวรัญช-
3
+ 01,0018,002,พราหมณ์อังคาส ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนียโภชนียาหาร
4
+ 01,0018,003,อันประณีต ด้วยมือของตนจนให้ห้ามภัตรแล้ว ได้ถวายไตรจีวรแด่พระผู้มี-
5
+ 01,0018,004,พระภาคเจ้าผู้เสวยเสร็จทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตรแล้วให้ทรงครอง และ
6
+ 01,0018,005,ถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครอง รูปละสำรับ จึงพระองค์ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์
7
+ 01,0018,006,เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วทรงลุกจากที่ประทับ
8
+ 01,0018,007,เสด็จกลับ ครั้นพระองค์ประทับอยู่ที่เมืองเวรัญชาตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว
9
+ 01,0018,008,เสด็จพระพุทธดำเนินไปยังเมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมืองโสเรยยะ เมือง
10
+ 01,0018,009,สังกัสสะ เมืองกัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่น้ำคงคาที่เมืองท่าปยาคะ เสด็จพระพุทธะ
11
+ 01,0018,010,ดำเนินถึงพระนครพาราณสี ครั้นพระองค์ประทับอยู่ที่พระนครพาราณสี ตาม
12
+ 01,0018,011,พระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่พระนครเวสาลี เมื่อ
13
+ 01,0018,012,เสด็จจาริกไปโดยลำดับถึงพระนครเวสาลีนั้นแล้ว ทราบว่าพระองค์ประทับ
14
+ 01,0018,013,อยู่ที่กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น.
15
+ 01,0018,014,<I>เวรัญชภาณวาร จบ</I>
01/010019.csv ADDED
@@ -0,0 +1,18 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0019,001,<h1>อรรถกถาพระวินัย</h1>
3
+ 01,0019,002,<h1>ชื่อสมันตปาสาทิกาแปล
4
+ 01,0019,003,มหาวิภังควรรณนา</h1>
5
+ 01,0019,004,<H2>ภาค ๑</H2>
6
+ 01,0019,005,<h2>อารัมภกถา</h2>
7
+ 01,0019,006,<SUP>*</SUP> <B>ข้าพเจ้าขอถวายนมัสการแด่พระผู้เป็น
8
+ 01,0019,007,ที่พึ่ง ผู้ประกอบด้วยพระมหากรุณา
9
+ 01,0019,008,พระองค์ผู้ทรงกระทำกรรมที่ทำได้ยากยิ่ง
10
+ 01,0019,009,ตลอดกาลซึ่งจะนับประมาณมิได้ แม้ด้วย
11
+ 01,0019,010,หลายโกฏิกัป ทรงถึงความยากลำบาก เพื่อ
12
+ 01,0019,011,ประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์โลก. ข้าพเจ้าขอ
13
+ 01,0019,012,ถวายนมัสการแก่พระธรรมอันประเสริฐ อัน
14
+ 01,0019,013,ขจัดเสียซึ่งข่ายคือกิเลส มีอวิชชาเป็นต้น
15
+ 01,0019,014,ที่พระพุทธเจ้าทรงเสพอยู่เป็นนิตย์ ซึ่งสัตว-
16
+ 01,0019,015,โลก เมื่อไม่หยั่งรู้ต้องท่องเที่ยวไปสู่ภพน้อย
17
+ 01,0019,016,และภพใหญ่. ข้าพเจ้าขอถวายนมัสการด้วย
18
+ 01,0019,017,เศียรเกล้า ซึ่งพระอริยสงฆ์ ผู้ประกอบ</B>
01/010020.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0020,001,<B>ด้วยคุณ มีศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และ
3
+ 01,0020,002,วิมุตติญาณทัสนะเป็นเค้ามูล เป็นเนื้อนาบุญ
4
+ 01,0020,003,ของเหล่าชนผู้มีความต้องการด้วยกุศล. ข้าพ
5
+ 01,0020,004,เจ้านมัสการอยู่ ซึ่งพระรัตนตรัยอันควร
6
+ 01,0020,005,นมัสการโดยส่วนเดียว ด้วยประการดังกล่าว
7
+ 01,0020,006,มานี้ ได้แล้วซึ่งกุศลผลบุญที่ไพบูล หลั่งไหล
8
+ 01,0020,007,ไม่ขาดสายอันใด ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผล
9
+ 01,0020,008,บุญนั้น ขอข้าพเจ้าจงเป็นผู้ปลอดอันตราย.
10
+ 01,0020,009,ข้าพเจ้าจักอาศัยอานุภาพของท่านบูรพาจารย์
11
+ 01,0020,010,พรรณนาพระวินัยให้ไม่ปะปนกัน ซึ่งเมื่อ
12
+ 01,0020,011,ทรงอยู่แล้ว ศาสนาของพระพุทธเจ้า ผู้มิได้
13
+ 01,0020,012,ทรงตั้งมั่นอยู่ ( ในส่วนสุดทั้งสอง ) แต่ทรง
14
+ 01,0020,013,ดำรงชอบด้วยดี ( ในมัชฌิมาปฏิปทา ) เป็น
15
+ 01,0020,014,อันประดิษฐานอยู่ได้. แท้ที่จริง พระวินัยนี้
16
+ 01,0020,015,ถึงท่านบูรพาจารย์ผู้องอาจ ซึ่งขจัดมลทิน
17
+ 01,0020,016,และอาสวะออกหมดแล้วด้วยน้ำคือญาณ มี
18
+ 01,0020,017,วิชชาและปฏิสัมภิทาบริสุทธิ์ ฉลาดในการ
19
+ 01,0020,018,สังวรรณนาพระสัทธรรม หาผู้เปรียบปาน
20
+ 01,0020,019,ในความเป็นผู้ขัดเกลาได้ไม่ง่าย เปรียบดัง
21
+ 01,0020,020,ธงชัยของวัดมหาวิหาร ได้สังวรรณนาไว้โดย
22
+ 01,0020,021,นัยอันวิจิตร คล้อยตามพระสัมพุทธเจ้าผู้
23
+ 01,0020,022,ประเสริฐ. กระนั้น เพราะสังวรรณนานี้</B>
01/010021.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0021,001,<B>มิได้อำนวยประโยชน์ไร ๆ แก่ชาวภิกษุใน
3
+ 01,0021,002,เกาะอื่น เพราะท่านเรียบเรียงไว้ด้วยภาษา
4
+ 01,0021,003,ชาวเกาะสิงหล ฉะนั้น ข้าพเจ้าผู้รำลึกอยู่
5
+ 01,0021,004,ด้วยดีโดยชอบ ถึงคำเชิญของพระเถระนาม
6
+ 01,0021,005,ว่า พุทธสิริ จึงจักเริ่มด้วยดี ซึ่งการสังวรรณ-
7
+ 01,0021,006,นานี้ อันควรแก่นัยพระบาลี ณ บัดนี้. และ
8
+ 01,0021,007,เมื่อจะเริ่มด้วยดี ซึ่งสังวรรณนานั้น จักเอา
9
+ 01,0021,008,มหาอรรถกถาเป็นโครงของสังวรรณนานั้นไม่
10
+ 01,0021,009,ละข้อความอันควร แม้จากวินิจฉัย ซึ่ง
11
+ 01,0021,010,ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถามหาปัจจรี และ
12
+ 01,0021,011,อรรถกถาอันปรากฏด้วยดี โดยชื่อว่ากุรุนที
13
+ 01,0021,012,เป็นต้น กระทำเถรวาทไว้ในภายในแล้ว จึง
14
+ 01,0021,013,จักเริ่มต้นด้วยดีโดยชอบซึ่งสังวรรณนา ขอภิกษุ
15
+ 01,0021,014,ทั้งหลายปูนเถระ ปูนใหม่ และปานกลาง
16
+ 01,0021,015,ผู้มีจิตเลื่อมใสเคารพนับถือพระธรรมของ
17
+ 01,0021,016,พระตถาคตเจ้า ผู้มีดวงประทีปคือพระธรรม
18
+ 01,0021,017,จงตั้งใจฟังสังวรรณนานั้นของข้าพเจ้า โดย
19
+ 01,0021,018,เคารพเถิด.
20
+ 01,0021,019,พระอรรถกถาจารย์ชาวสิงหล มิได้
21
+ 01,0021,020,ละมติ (อธิบาย) ของท่านพุทธบุตรทั้งหลาย
22
+ 01,0021,021,ผู้รู้ธรรมวินัย เหมือนอย่างที่พระพุทธเจ้า
23
+ 01,0021,022,ตรัสไว้ ได้แต่อรรถกถาในปางก่อน. เพราะ</B>
01/010022.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0022,001,<B>เหตุนั้นแล คำที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถา
3
+ 01,0022,002,ทั้งหมดยกเว้นคำที่เขียนด้วยความพลั้งพลาด
4
+ 01,0022,003,เสีย ย่อมเป็นประมาณแห่งบัณฑิตทั้งหลาย
5
+ 01,0022,004,ผู้มีความเคารพในสิกขาในพระศาสนานี้. ก็
6
+ 01,0022,005,เพราะแม้วรรณนานี้ จะแสดงข้อความแห่ง
7
+ 01,0022,006,คำทั้งหลายที่มาในพระสุตตันตะให้เหมาะสม
8
+ 01,0022,007,แก่พระสูตร ละทิ้งภาษาอื่นจากอรรถกถานั้น
9
+ 01,0022,008,เสียทีเดียว และย่นพลความพิสดาร ( คำ
10
+ 01,0022,009,ประพันธ์ที่พิสดาร ) ให้รัดกุมเข้า ก็จักไม่ให้
11
+ 01,0022,010,เหลือไว้ ซึ่งข้อวินิจฉัยทั้งปวง ไม่ข้ามลำดับ
12
+ 01,0022,011,พระบาลีที่เป็นแบบแผนอย่างใดอย่างหนึ่ง
13
+ 01,0022,012,เพราะฉะนั้น บัณฑิตควรตามศึกษาวรรณนา
14
+ 01,0022,013,นี้โดยเอื้อเฟื้อแล.</B><SUP>*</SUP>
15
+ 01,0022,014,เพราะข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในคาถาเหล่านั้นว่า จักพรรณนาพระวินัย
16
+ 01,0022,015,ดังนี้ ผู้ศึกษาควรกำหนดพระวินัยก่อนว่า วินัยนั้น คืออะไร? เพราะฉะนั้น
17
+ 01,0022,016,ข้าพเจ้าจึงกล่าวคำนี้ว่า ที่ชื่อว่า วินัย ในที่นี้ประสงค์เอาวินัยปิฎกทั้งสิ้น.
18
+ 01,0022,017,ก็เพื่อจะสังวรรณนาพระวินัยนั้น ข้าพเจ้าจะกล่าวมาติกาดังต่อไปว่า
19
+ 01,0022,018,<B>พระวินัยปิฎกนี้ ผู้ใดกล่าวไว้ กล่าว
20
+ 01,0022,019,ในกาลใด กล่าวไว้เพราะเหตุใด ผู้ใดทรงไว้</B>
01/010023.csv ADDED
@@ -0,0 +1,17 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0023,001,<B>ผู้ใดนำสืบมา และตั้งอยู่แล้วในบุคคลใด
3
+ 01,0023,002,ข้าพเจ้ากล่าววิธีนี้แล้ว ภายหลังจักแสดง
4
+ 01,0023,003,"เนื้อความแห่งปาฐะว่า "" เตน "" เป็นต้นโดย"
5
+ 01,0023,004,ประการต่าง ๆ ทำการพรรณนาอรรถแห่ง
6
+ 01,0023,005,พระวินัย.</B>
7
+ 01,0023,006,บรรดามาติกาเหล่านั้น คำว่า <B>วุตฺตํ เยน ยทา ยสฺมา</B> นี้
8
+ 01,0023,007,ท่านอาจารย์กล่าวหมายเอาคำมีอาทิอย่างนี้ก่อนว่า โดยสมัยนั้นพระผู้มีพระภาค-
9
+ 01,0023,008,เจ้าประทับอยู่ ( ณ โคนต้นไม้สะเดาอันนเฬรุยักษ์สิงสถิต ) ใกล้เมืองเวรัญชา<SUP>๑</SUP>.
10
+ 01,0023,009,เพราะคำนี้มิใช่เป็นคำที่กล่าวให้ประจักษ์กับพระองค์เองแห่งพระผู้มีพระภาค-
11
+ 01,0023,010,เจ้า<SUP>๒</SUP>. เพราะฉะนั้น บัณฑิตจึงควรกล่าวตั้งปัญหานั่นดังนี้ว่า คำนี้ใครกล่าวไว้
12
+ 01,0023,011,กล่าวไว้ในกาลไหน และเพราะเหตุไร จึงกล่าวไว้. ( แก้ว่า ) คำนี้ท่านพระ-
13
+ 01,0023,012,อุบาลีเถระกล่าวไว้ ก็แลคำนั้น ท่านพระอุบาลีเถระกล่าวไว้ในคราวทำปฐม-
14
+ 01,0023,013,มหาสังคีติ (ในคราวทำสังคายนาใหญ่ครั้งแรก). อันชื่อว่า ปฐมมหาสังคีตินี้
15
+ 01,0023,014,พระธรรมสังคาหกเถระทั้งหลายได้กล่าวแล้วในปัญจสติกสังคีติขันธกะแม้ก็จริง
16
+ 01,0023,015,ถึงอย่างนั้น <SUP>๓</SUP> เพื่อความเป็นผู้ฉลาดในนิทานบัณฑิตควรทราบตามนัยนี้ แม้ใน
17
+ 01,0023,016,อรรถกถานี้.
01/010024.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0024,001,<h1>พาหิรนิทานวรรณนา</h1>
3
+ 01,0024,002,[<h1>ปรารภมูลเหตุทำปฐมสังคายนา</h1>]
4
+ 01,0024,003,<SUP>๑</SUP>ความพิสดารว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นที่พึ่งแห่งโลกทรง
5
+ 01,0024,004,บำเพ็ญพุทธกิจ ตั้งแต่ทรงยังพระธรรมจักรให้เป็นไปเป็นต้น จนถึงโปรด
6
+ 01,0024,005,สุภัททปริพาชกแล้วเสด็จปรินิพพาน ด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในเวลา
7
+ 01,0024,006,ใกล้รุ่ง ในวันวิสาขปุณณมี ระหว่างต้นสาละทั้งคู่ในสาลวัน อันเป็นที่เสด็จ
8
+ 01,0024,007,ประพาสของเจ้ามัลละทั้งหลาย ใกล้กรุงกุสินารา ท่านพระมหากัสสปผู้เป็น
9
+ 01,0024,008,พระสังฆเถระแห่งภิกษุประมาณ ๗ แสนรูป ซึ่งประชุมกันในสถานที่ปรินิพพาน
10
+ 01,0024,009,แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ระลึกถึงคำที่สุภัททวุฑฒบรรพชิตกล่าว เมื่อพระผู้มี
11
+ 01,0024,010,พระภาคเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้วได้ ๗ วันว่า อย่าเลย ผู้มีอายุทั้งหลาย !
12
+ 01,0024,011,ท่านทั้งหลายอย่าเศร้าโศกไปเลย ท่านทั้งหลายอย่าร่ำไรไปเลย พวกเราพ้น
13
+ 01,0024,012,ดีแล้วจากพระมหาสมณะพระองค์นั้น ด้วยว่าพวกเราถูกพระมหาสมณะ
14
+ 01,0024,013,พระองค์นั้น คอยรบกวนห้ามปรามว่า นี้สมควรแก่เธอทั้งหลาย นี้ไม่สมควร
15
+ 01,0024,014,แก่เธอทั้งหลาย ดังนี้ ก็บัดนี้พวกเราจักปรารถนากระทำกรรมใด ก็จักทำ
16
+ 01,0024,015,กรรมนั้น พวกเราจักไม่ปรารถนากระทำกรรมใด จักไม่ทำกรรมนั่น<SUP>๒</SUP> ดังนี้
17
+ 01,0024,016,ดำริอยู่ว่า ข้อที่พวกปาปภิกษุ จะพึงเป็นผู้สำคัญเสียว่า ปาพจน์มีพระศาสดา
18
+ 01,0024,017,ล่วงไปแล้ว ดังนี้ ได้พรรคพวกแล้วพึงยังพระสัทธรรมให้อันตรธานได้ไม่นาน
19
+ 01,0024,018,เลย เรื่องนี้เป็นฐานะที่มีได้แน่. ความจริง พระวินัยยังตั้งอยู่ตราบใด
20
+ 01,0024,019,ปาพจน์ยังมีพระศาสดาไม่ล่วงไปแล้วตราบนั้น ข้อนี้สมด้วยพระดำรัสที่พระผู้มี-
01/010025.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0025,001,พระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า อานนท์ ! ธรรมวินัยใดอันเราแสดงแล้ว บัญญัติแล้ว
3
+ 01,0025,002,แก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลายโดยกาลล่วง
4
+ 01,0025,003,ไปแห่งเรา<SUP>๑</SUP> ดังนี้ อย่ากระนั้นเลย เราพึงสังคายนาพระธรรมและพระวินัย
5
+ 01,0025,004,ซึ่งจะเป็นวิธีที่พระศาสนานี้จะพึงดำรงมั่นตั้งอยู่สิ้นกาลนาน. อนึ่ง โดยเหตุที่
6
+ 01,0025,005,เราเป็นผู้อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า กัสสป ! เธอจักทรงผ้าบังสุกุลอันทำ
7
+ 01,0025,006,ด้วยป่านของเรา ซึ่งเราใช้นุ่งห่มแล้วหรือ ดังนี้ แล้วทรงอนุเคราะห์ด้วย
8
+ 01,0025,007,สาธารณบริโภคในจีวร และด้วยการทรงยกย่องไว้เทียบเทียมพระองค์ในอุตริ-
9
+ 01,0025,008,มนุสธรรม มีอนุปุพพวิหารเก้า และอภิญญาหกเป็นประเภท โดยนัยมีอาทิ
10
+ 01,0025,009,อย่างนี้ว่า ภิกษุทั้งหลาย ! เราจำนงอยู่เพียงใด เราสงัดแล้วจากกามทั้งหลาย
11
+ 01,0025,010,เทียว ฯลฯ ย่อมเข้าถึงพร้อมซึ่งปฐมฌาน อยู่ได้เพียงนั้น ภิกษุทั้งหลาย !
12
+ 01,0025,011,แม้กัสสปจำนงอยู่เพียงใด เธอสงัดจากกามทั้งหลาย ฯลฯ ย่อมเข้าถึงพร้อม
13
+ 01,0025,012,ซึ่งปฐมฌานอยู่ได้เพียงนั้นเหมือนกัน<SUP>๒</SUP> ดังนี้ ความเป็นผู้ไม่มีหนี้อย่างอื่นอะไร
14
+ 01,0025,013,"จักมีแก่เรานั้นได้, พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเราว่า กัสสปนี้จักเป็นผู้ดำรง"
15
+ 01,0025,014,วงศ์พระสัทธรรมของเรา ดังนี้แล้ว ทรงอนุเคราะห์ด้วยอสาธารณานุเคราะห์นี้
16
+ 01,0025,015,ดุจพระราชาทรงทราบพระราชโอรสผู้จะดำรงวงศ์สกุลของพระองค์แล้ว ทรง
17
+ 01,0025,016,อนุเคราะห์ด้วยการทรงมอบเกราะของพระองค์และพระอิสริยยศฉะนั้น มิใช่หรือ
18
+ 01,0025,017,ดังนี้ จึงยังความอุตสาหะให้เกิดแก่ภิกษุทั้งหลาย เพื่อสังคายนาพระธรรมวินัย<SUP>๓</SUP>
19
+ 01,0025,018,เหมือนอย่างที่พระธรรมสังคาหกาจารย์กล่าวไว้ว่า ครั้นนั้นแล ท่านพระมหา -
20
+ 01,0025,019,กัสสป ได้เตือนภิกษุทั้งหลายว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย! สมัยหนึ่งเราพร้อมด้วย
21
+ 01,0025,020,ภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ประมาณภิกษุ ๕๐๐ รูป เดินทางไกลจากเมืองปาวา มาสู่
22
+ 01,0025,021,เมืองกุสินารา<SUP>๔</SUP> ดังนี้เป็นต้น. สุภัททกัณฑ์ทั้งปวง ผู้ศึกษาพึงทราบโดยพิสดาร.
01/010026.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0026,001,[<h2>พระมหากัสสปชักชวนทำสังคายนา</h2>]
3
+ 01,0026,002,เบื้องหน้าแต่นั้น ท่านพระมหากัสสปได้กล่าวว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย !
4
+ 01,0026,003,เอาเถิด เราทั้งหลายจะสังคายนาพระธรรมและพระวินัยกัน เพราะว่า ในกาล
5
+ 01,0026,004,เบื้องหน้า อธรรมจะรุ่งเรือง ธรรมจะถูกขัดขวาง อวินัยจะรุ่งเรือง วินัยจะ
6
+ 01,0026,005,ถูกขัดขวาง ในกาลภายหน้า พวกอธรรมวาทีจะมีกำลัง พวกธรรมวาทีจะ
7
+ 01,0026,006,หย่อนกำลัง พวกอวินัยวาทีจะมีกำลัง พวกวินัยวาทีจะหย่อนกำลัง<SUP>๑</SUP> ดังนี้.
8
+ 01,0026,007,ภิกษุทั้งหลายได้เรียนท่านว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ! ถ้าอย่างนั้น ขอพระเถระ
9
+ 01,0026,008,โปรดคัดเลือกภิกษุทั้งหลายเถิด.<SUP>๒</SUP>
10
+ 01,0026,009,[<h2>พระมหากัสสปคัดเลือกภิกษุ ๔๙๙ รูป</h2>]
11
+ 01,0026,010,พระเถระเว้นภิกษุผู้เป็นปุถุชน พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระ-
12
+ 01,0026,011,อนาคามี และพระขีณาสพสุกขวิปัสสก ผู้ทรงพระปริยัติ คือนวังคสัตถุศาสน์
13
+ 01,0026,012,ทั้งสิ้นเสียจำนวนหลายร้อยและหลายพัน เลือกเอาเฉพาะพระภิกษุขีณาสพ
14
+ 01,0026,013,เท่านั้น มีจำนวน ๔๙๙ รูป ผู้ทรงไว้ซึ่งประเภทแห่งสรรพปริยัติ คือ
15
+ 01,0026,014,พระไตรปิฎก ได้บรรลุปฏิสัมภิทามีอานุภาพมาก แตกฉานในไตรวิชชาเป็นต้น
16
+ 01,0026,015,ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกขึ้นสู่เอตทัคคะโดยมาก ผู้ซึ่งพระธรรมสังคาห-
17
+ 01,0026,016,กาจารย์หมายถึงจึงกล่าวคำนี้ว่า ครั้งนั้นแล ท่านพระมหากัสสปได้คัดเลือก
18
+ 01,0026,017,พระอรหันต์ ๔๙๙ รูป<SUP>๓</SUP> ดังนี้เป็นต้น.
19
+ 01,0026,018,[<h2>ทำสังคายนาจะเว้นพระอานนท์ไม่ได้</h2>]
20
+ 01,0026,019,ถามว่า ก็พระเถระทำให้หย่อนอยู่ ๑ รูป เพื่อใคร ? แก้ว่า เพื่อให้
21
+ 01,0026,020,โอกาสแก่ท่านพระอานนทเถระ. จริงอยู่ การสังคายนาธรรมไม่อาจทำทั้งร่วม
01/010027.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0027,001,ทั้งแยกจากท่านพระอานนท์นั้นได้ เพราะท่านพระอานนท์นั้นยังเป็นพระเสขะ
3
+ 01,0027,002,"มีกิจจำต้องทำอยู่, ฉะนั้นจึงไม่อาจทำร่วมกับท่านได้, แต่เพราะวังคสัตถุศาสน์"
4
+ 01,0027,003,มีสุตตะ เคยยะ เป็นต้น อะไร ๆ ที่พระทศพลแสดงแล้ว ชื่อว่าท่านมิได้รับ
5
+ 01,0027,004,"เฉพาะพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่มี, เพราะฉะนั้น จึงไม่อาจจะเว้น"
6
+ 01,0027,005,"ท่านได้, ถามว่า ถ้าเมื่อไม่อาจทำอย่างนั้นได้ ถึงแม้ท่านยังเป็นพระเสขะอยู่ "
7
+ 01,0027,006,พระเถระควรเลือก เพราะเป็นผู้มีอุปการะมากแก่การสังคายนาพระธรรม
8
+ 01,0027,007,เมื่อมีความจำเป็นต้องเลือกอย่างนั้น เพราะเหตุไร พระเถระจึงไม่เลือกท่าน.
9
+ 01,0027,008,แก้ว่า เพราะจะเว้นคำค่อนขอดของผู้อื่น. ความจริง พระเถระเป็นผู้คุ้นเคย
10
+ 01,0027,009,ในท่านพระอานนท์อย่างยิ่งยวด. จริงอย่างนั้น แม้เมื่อศีรษะหงอกแล้ว ท่าน
11
+ 01,0027,010,พระมหากัสสป ก็ยังเรียนท่านพระอานนท์นั้นโดยใช้กุมารกวาทะว่า เด็กคนนี้
12
+ 01,0027,011,ไม่รู้จักประมาณเสียเลย ดังนี้. อนึ่ง ท่านพระอานนท์นี้ประสูติในศากยสกุล
13
+ 01,0027,012,"เป็นพระภาดาของพระตถาคต เป็นโอรสของพระเจ้าอาว์, จริงอยู่ ภิกษุทั้งหลาย"
14
+ 01,0027,013,จะสำคัญในพระมหากัสสปเถระนั้นเหมือนถึงฉันทาคติ จะพึงกล่าวค่อนขอดว่า
15
+ 01,0027,014,พระเถระเว้นภิกษุทั้งหลายผู้ได้บรรลุปฏิสัมภิทาเป็นอเสขะเสียเป็นอันมาก ได้
16
+ 01,0027,015,เลือกเอาพระอานนท์ผู้บรรลุปฏิสัมภิทาเป็นเสขะ. พระเถระเมื่อจะเว้นคำ
17
+ 01,0027,016,"ค่อนขอดของผู้อื่นนั้นเสีย, คิดว่า การสังคายนาไม่อาจทำโดยเว้นพระอานนท์"
18
+ 01,0027,017,เสีย เราจักรับเอาพระอานนท์เข้าด้วย ตามอนุมัติของภิกษุทั้งหลายเท่านั้น
19
+ 01,0027,018,จึงมิได้เลือกพระอานนท์นั้นเข้าด้วย.
20
+ 01,0027,019,[<h2>ภิกษุทั้งหลายขอให้เลือกพระอานนท์</h2>]
21
+ 01,0027,020,ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงพากันวิงวอนพระเถระ เพื่อต้องการให้เลือก
22
+ 01,0027,021,พระอานนท์เสียเองทีเดียว เหมือนอย่างที่พระโบราณาจารย์กล่าวไว้ว่า พวก
23
+ 01,0027,022,ภิกษุได้กล่าวคำนี้กะท่านพระมหากัสสปว่า ท่านผู้เจริญ ! ถึงท่านอานนท์นี้
01/010028.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0028,001,จะยังเป็นเสขะ เป็นผู้ไม่ควรถึงความลำเอียงเพราะความรัก ความชัง ความหลง
3
+ 01,0028,002,"ความกลัวก็จริง, ถึงกระนั้นธรรมและวินัย ที่ท่านได้เล่าเรียนในสำนักของ"
4
+ 01,0028,003,"พระผู้มีพระภาคเจ้ามีมาก, ท่านผู้เจริญ ! ถ้ากระนั้น ขอพระเถระโปรดเลือก"
5
+ 01,0028,004,พระอานนท์เข้าด้วยเถิด<SUP>๑</SUP> ครั้งนั้นแล ท่านพระมหากัสสป จึงได้เลือกท่าน
6
+ 01,0028,005,อานนท์เข้าด้วย <SUP>๒</SUP> รวมกับท่านนั้นที่ท่านพระมหากัสสปเลือกตามอนุมัติของ
7
+ 01,0028,006,ภิกษุทั้งหลาย <SUP>๓</SUP> จึงเป็นพระเถระ ๕๐๐ รูป ด้วยประการฉะนี้.
8
+ 01,0028,007,[<h2>เลือกกรุงราชคฤห์เป็นที่ทำปฐมสังคายนา</h2>]
9
+ 01,0028,008,ครั้งนั้นแล ภิกษุเถระทั้งหลายได้มีความปริวิตกอย่างนี้ ว่า พวกเรา
10
+ 01,0028,009,จะพึงสังคายนาพระธรรมและพระวินัย ณ สถานที่ไหนหนอแล ครั้งนั้นแล
11
+ 01,0028,010,ภิกษุเถระทั้งหลายได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า กรุงราชคฤห์แล มีที่โคจรกว้างขวาง
12
+ 01,0028,011,"มีเสนาสนะมากมาย, อย่ากระนั้นเลย พวกเราพึงอยู่จำพรรษาในกรุงราชคฤห์"
13
+ 01,0028,012,"ทำสังคายนาพระธรรมและพระวินัยเถิด, ภิกษุเหล่าอื่นไม่ควรเข้าจำพรรษาใน"
14
+ 01,0028,013,กรุงราชคฤห์. <SUP>๔</SUP> ถามว่า ก็เพราะเหตุไร ท่านเหล่านั้นจึงปรึกษาตกลงกันดังนั้น.
15
+ 01,0028,014,แก้ว่า เพราะจะมีวิสภาคบุคคลบางคนเข้าไปสู่ท่ามกลางสงฆ์ แล้วพึงคัดค้าน
16
+ 01,0028,015,ถาวรกรรมของพวกเรานี้เสีย. ครั้นนั้น ท่านพระมหากัสสป จึงสวดประกาศ
17
+ 01,0028,016,ด้วยญัตติทุติยกรรม. ญัตติทุติยธรรม <SUP>๕</SUP> นั้น ผู้ศึกษาพึงทราบโดยนัยที่ท่านกล่าว
18
+ 01,0028,017,ไว้ในสังคีติขันธกะนั้นแล.
19
+ 01,0028,018,[<h2>พระมหาเถระแยกกันเดินทางไปสู่กรุงราชคฤห์</h2>]
20
+ 01,0028,019,ครั้งนั้น พระมหากัสสปเถระ ทราบว่า นับแต่วันที่พระตถาคต
21
+ 01,0028,020,ปรินิพพานมา เมื่อวันสาธุกีฬาและวันบูชาพระธาตุล่วงไปได้อย่างละ ๗ วัน
22
+ 01,0028,021,"เป็นอันล่วงไปแล้วกึ่งเดือน, บัดนี้ฤดูคิมหันต์ยังเหลืออยู่เดือนครึ่ง ดิถีที่จะเข้า"
01/010029.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0029,001,จำพรรษาก็ใกล้เข้ามาแล้ว จึงกล่าวว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย ! พวกเราไปยังกรุง-
3
+ 01,0029,002,ราชคฤห์กันเถิด แล้วได้พาเอาภิกษุสงฆ์กึ่งหนึ่งเดินไปทางหนึ่ง. พระอนุรุทธเถระ
4
+ 01,0029,003,ก็พาเอาภิกษุสงฆ์กึ่งหนึ่งเดินไปอีกทางหนึ่ง. ท่านพระอานนทเถระถือเอาบาตร
5
+ 01,0029,004,และจีวรของพระผู้มีพระภาคเจ้าอันภิกษุสงฆ์แวดล้อม มีความประสงค์จะเดิน
6
+ 01,0029,005,ทางผ่านกรุงสาวัตถีไปยังกรุงราชคฤห์ ก็หลีกจาริกไปทางกรุงสาวัตถี.
7
+ 01,0029,006,[<h2>พระอานนท์ไปถึงที่ไหนมีเสียงร้องไห้ในที่นั้น</h2>]
8
+ 01,0029,007,ในสถานที่ที่พระอานนท์ไปแล้ว ๆ ได้มีการร้องไห้ร่ำไรมากมายว่า
9
+ 01,0029,008,ท่านอานนท์ผู้เจริญ ! ท่านพักพระศาสดาไว้ที่ไหน จึงมาแล้ว ก็เมื่อพระเถระ
10
+ 01,0029,009,ไปถึงกรุงสาวัตถีโดยลำดับ ได้มีการร้องไห้ร่ำไรมากมาย เหมือนในวันที่
11
+ 01,0029,010,พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จปรินิพพานฉะนั้น.
12
+ 01,0029,011,[<h2> พระอานนท์ปัดกวาดเสนาสนะที่เคยประทับ</h2> ]
13
+ 01,0029,012,ได้ทราบว่า ในกรุงสาวัตถีนั้น ท่านพระอานนท์ได้ปลอบโยนมหาชน
14
+ 01,0029,013,นั้นให้เบาใจด้วยธรรมกาอันปฏิสังยุตด้วยไตรลักษณ์ มีความไม่เที่ยงเป็นต้น
15
+ 01,0029,014,แล้วเข้าไปยังพระเชตวัน เปิดประตูพระคันธกุฎีที่พระทศพลเคยประทับ แล้ว
16
+ 01,0029,015,นำเตียงและตั่งออกมาเคาะตีปัดกวาดพระคันธกุฎี เก็บหยากเยื่อดอกไม้ที่
17
+ 01,0029,016,เหี่ยวแห้งทิ้งเสีย แล้วนำเอาเตียงและตั่งกลับเข้าไปตั้งไว้ในที่เดิมอีก ได้ทำวัตร
18
+ 01,0029,017,ทุกอย่างที่ควรทำ เหมือนในเวลาที่พระผู้มีพระภาคเจ้ายังดำรงอยู่ฉะนั้น.
19
+ 01,0029,018,[<h2>พระอานนท์ฉันยาระบาย</h2>]
20
+ 01,0029,019,ในกาลนั้น พระเถระ เพราะเป็นผู้มากไปด้วยการยืนและการนั่ง
21
+ 01,0029,020,จำเดิมแต่กาลที่พระผู้มีพระภาคเจ้าปรินิพพานมา เพื่อชำระกายที่มีธาตุหนาแน่น
22
+ 01,0029,021,ให้สบาย ในวันที่สอง จึงนั่งฉันยาระบายที่เจือด้วยน้ำนมอยู่ในวิหารนั่นเอง
01/010030.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0030,001,ซึ่งท่านหมายถึง จึงได้กล่าวคำนี้กะมานพที่สุภมานพส่งไปว่า มิใช่กาลเสียแล้ว
3
+ 01,0030,002,"มานพ ! เผอิญวันนี้เราดื่มยาระบายเสียแล้ว, ถ้ากระไรเอาไว้พรุ่งนี้เถิด เรา"
4
+ 01,0030,003,จึงจะเข้าไป<SUP>*</SUP> ดังนี้. ในวันรุ่งขึ้นพระเถระ มีพระเจตกเถระเป็นปัจฉาสมณะ
5
+ 01,0030,004,ได้ไป (ยังนิเวศน์ของสุภมานพ) ถูกสุมานพถาม จึงได้แสดงพระสูตรที่ ๑๐
6
+ 01,0030,005,ชื่อสุภสูตร ในทีฆนิกาย. ในกาลนั้นพระเถระสั่งให้นายช่างทำการปฏิสังขรณ์
7
+ 01,0030,006,สถานที่ปรักหักพังในพระเชตวันวิหารแล้ว เมื่อวันวัสสูปนายิกาใกล้เข้ามาได้
8
+ 01,0030,007,ไปยังกรุงราชคฤห์. ถึงพระมหากัสสปเถระและพระอนุรุทธเถระก็พาเอาภิกษุ
9
+ 01,0030,008,สงฆ์ทั้งปวงไปสู่กรุงราชคฤห์เหมือนกัน.
10
+ 01,0030,009,[<h2>พระเถระทั้งหลายคิดซ่อมวิหาร ๑๘ แห่ง</h2>]
11
+ 01,0030,010,ก็โดยสมัยนั้นแล ในกรุงราชคฤห์มีมหาวิหารอยู่ ๑๘ ตำบล มหาวิหาร
12
+ 01,0030,011,เหล่านั้นแม้ทั้งหมดได้รกรุงรังด้วยของที่ถูกทิ้งและตกเกลื่อน. จริงอยู่ พวกภิกษุ
13
+ 01,0030,012,ทั้งหมดพากันถือเอาบาตรและจีวรของตน ๆ ได้ทอดทิ้งวิหารและบริเวณไปใน
14
+ 01,0030,013,สถานที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าปรินิพพาน. พระเถระทั้งหลายในวิหารเหล่านั้น
15
+ 01,0030,014,เพื่อที่จะบูชาพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคเจ้าและเพื่อจะเปลื้องวาทะของพวก
16
+ 01,0030,015,เดียรถีย์เสีย จึงคิดกันว่า ตลอดเดือนแรก พวกเราจะทำการปฏิสังขรณ์ที่ชำรุด
17
+ 01,0030,016,ทรุดโทรม. ก็พวกเดียรถีย์พึงกล่าวว่า เหล่าสาวกของพระสมณโคดม เมื่อ
18
+ 01,0030,017,พระศาสดายังดำรงอยู่เท่านั้น จึงปฏิบัติวิหาร เมื่อปรินิพพานแล้ว ก็พากัน
19
+ 01,0030,018,ทอดทิ้งเสีย. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ก็เพื่อจะเปลื้องวาทะของพวกเดียรถีย์
20
+ 01,0030,019,เหล่านั้น พระเถระทั้งหลายจึงได้คิดกันอย่างนั้น. ข้อนี้สมจริงดังพระธรรม-
01/010031.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0031,001,สังคาหกาจารย์กล่าวไว้ว่า ครั้งนั้นแล พระภิกษุเถระทั้งหลายได้มีความปริวิตก
3
+ 01,0031,002,ดังนี้ว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย ! พระผู้พระภาคเจ้าแลทรงสรรเสริญการปฏิสังขรณ์
4
+ 01,0031,003,ที่ชำรุดทรุดโทรม เอาเถิด ผู้มีอายุทั้งหลาย ! พวกเราจะทำการปฏิสังขรณ์ที่
5
+ 01,0031,004,ชำรุดทรุดโทรมตลอดเดือนแรก จักประชุมกันทำสังคายนาพระธรรมและพระ-
6
+ 01,0031,005,วินัยตลอดเดือนอันมีในท่ามกลาง<SUP>*</SUP> ดังนี้.
7
+ 01,0031,006,[<h2>พระเถระไปทูลขอหัตถกรรมจากพระเจ้าอชาติศัตรู</h2>]
8
+ 01,0031,007,ในวันที่ ๒ พระเถระเหล่านั้นได้ไปยืนอยู่ที่ประตูพระราชวัง.
9
+ 01,0031,008,พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จมาไหว้แล้ว รับสั่งถามว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ !
10
+ 01,0031,009,พระคุณเจ้าทั้งหลาย พากันมาเพราะเหตุไร ดังนี้ แล้วจึงทรงรับสั่งย้อนถาม
11
+ 01,0031,010,ถึงกิจที่พระองค์เองควรทำ. พระเถระทั้งหลายได้ทูลบอกหัตถกรรมเพื่อประ-
12
+ 01,0031,011,โยชน์แก่การปฏิสังขรณ์มหาวิหารทั้ง ๑๘ ตำบล.
13
+ 01,0031,012,[<h2>พระราชาทรงอุปถัมภ์กิจสงฆ์ทุกอย่าง</h2>]
14
+ 01,0031,013,พระราชาทรงรับว่า ดีละ เจ้าข้า แล้วได้พระราชทานพวกมนุษย์
15
+ 01,0031,014,ผู้ทำหัตถกรรม. พระเถระทั้งหลายสั่งให้ปฏิสังขรณ์วิหารทั้งหมดเสร็จสิ้นเดือน
16
+ 01,0031,015,แรก แล้วได้ทูลให้พระราชาทรงทราบว่า ขอถวายพระพร มหาบพิตร !
17
+ 01,0031,016,การปฏิสังขรณ์วิหารเสร็จสิ้นแล้ว บัดนี้อาตมภาพทั้งหลาย จะทำการสังคายนา
18
+ 01,0031,017,พระธรรมและพระวินัย
19
+ 01,0031,018,ราชา. ดีละ เจ้าข้า ! ขอพระคุณเจ้าทั้งหลายจงหมดความคิดระแวง
20
+ 01,0031,019,สงสัยกระทำเถิด อาณาจักรจงไว้เป็นภาระของข้าพเจ้า ธรรมจักรจงเป็นภาระ
21
+ 01,0031,020,ของพระคุณเจ้าทั้งหลาย ขอพระคุณเจ้าโปรดใช้ข้าพเจ้าเถิด เจ้าข้า ! จะให้
22
+ 01,0031,021,ข้าพเจ้าทำอะไร.
01/010032.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0032,001,พระเถระ. ขอถวายพระพรมหาบพิตร ! ขอพระองค์โปรดเกล้า ฯ
3
+ 01,0032,002,ให้สร้างสถานที่นั่งประชุมสำหรับภิกษุทั้งหลายผู้ทำสังคายนา.
4
+ 01,0032,003,ราชา. จะให้ข้าพเจ้าสร้าง ณ ที่ไหน เจ้าข้า ?
5
+ 01,0032,004,เถระ. ควรสร้างที่ประตูถ้ำสัตตบรรณ ข้างภูเขาเวภารบรรพต ขอถวาย
6
+ 01,0032,005,พระพร.
7
+ 01,0032,006,[<h2>พระราชารับสั่งให้ประดับถ้ำดุจวิมานพรหม</h2>]
8
+ 01,0032,007,พระเจ้าอชาตศัตรูทรงรับสั่งว่า ได้ เจ้าข้า ! ดังนี้ แล้วรับสั่งให้สร้าง
9
+ 01,0032,008,มณฑปที่มีเครื่องประดับอันเป็นสาระซึ่งควรทัศนา เช่นกับสถานที่อันวิสสุกรรม
10
+ 01,0032,009,เทพบุตรนิรมิตไว้ มีฝาเสาและบันไดอันนายช่างจำแนกไว้ดี วิจิตรด้วยมาลา-
11
+ 01,0032,010,กรรมและลดากรรมนานาชนิด ราวกะว่าจะครอบงำเสียซึ่งสมบัติแห่งราชมณ-
12
+ 01,0032,011,เฑียรของพระมหากษัตริย์ ดุจประหนึ่งว่าจะเยาะเย้ยสิริแห่งเทพวิมาน ปาน
13
+ 01,0032,012,ประหนึ่งว่าเป็นสถานที่อาศัยอยู่แห่งสิริ ดุจท่าเป็นที่ประชุมชั้นเอกของเหล่าวิหค
14
+ 01,0032,013,คือนัยนาแห่งเทพดาและมนุษย์ และประดุจสถานที่รื่นรมย์ในโลกอันเขา
15
+ 01,0032,014,ประมวลจัดสรรไว้ ตกแต่งมณฑปนั้นให้เป็นเช่นกับวิมานพรหมมีเพดานงดงาม
16
+ 01,0032,015,รุ่งเรืองดุจสลัดอยู่ซึ่งพวงดอกกุสุมที่ห้อยย้อยนานาชนิด วิจิตรด้วยเครื่องบูชา
17
+ 01,0032,016,ดอกไม้ต่าง ๆ มีการงานอันควรทำที่พื้นทำสำเร็จเรียบร้อยดีแล้ว ประหนึ่งว่ามี
18
+ 01,0032,017,พื้นที่บุด้วยแก้วมณีอันวิจิตรด้วยรัตนะฉะนั้น ภายในมหามณฑปนั้นทรงรับสั่ง
19
+ 01,0032,018,ให้ปูเครื่องลาดอันเป็นกัปปิยะ ๕๐๐ ซึ่งคำนวณค่ามิได้ สำหรับภิกษุ ๕๐๐ รูป
20
+ 01,0032,019,แล้วให้ปูเถรอาสน์พิงข้างด้านทิศทักษิณ ผินหน้าไปทางทิศอุดร ในท่ามกลาง
21
+ 01,0032,020,มณฑปให้ตั้งธรรมาสน์อันควรเป็นที่ประทับนั่ง ของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
22
+ 01,0032,021,ผินหน้าไปทางทิศบูรพาและทรงวางพัดวีชนีอันวิจิตรด้วยงาไว้บนธรรมาสน์นั่น
01/010033.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0033,001,แล้วรับสั่งให้เผดียงแก่ภิกษุสงฆ์ว่า ท่านผู้เจริญ ! กิจของข้าพเจ้าสำเร็จแล้ว
3
+ 01,0033,002,ดังนี้.
4
+ 01,0033,003,[<h2>พวกภิกษุเตือนพระอานนท์มิให้ประมาท</h2>]
5
+ 01,0033,004,พวกภิกษุได้กล่าวกับท่านพระอานนท์ว่า อาวุโส ! การประชุมจะมีใน
6
+ 01,0033,005,วันพรุ่งนี้ แต่ท่านยังเป็นเสขะบุคคลอยู่ เพราะเหตุนั้น ท่านไม่ควรไปสู่
7
+ 01,0033,006,ที่ประชุม ขอท่านจงเป็นผู้ไม่ประมาทเถิด ดังนี้.
8
+ 01,0033,007,ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ดำริว่า การประชุมจะมีในวันพรุ่งนี้
9
+ 01,0033,008,ก็ข้อที่เรายังเป็นเสขะอยู่ จะพึงไปสู่ที่ประชุมนั้นไม่สมควรแก่เราแล แล้วได้
10
+ 01,0033,009,ยับยั้งอยู่<B>ด้วยกายคตาสติ</B>ตลอดราตรีเป็นอันมากทีเดียว ในเวลาราตรีใกล้รุ่ง
11
+ 01,0033,010,ลงจากที่จงกรมแล้ว เข้าไปยังวิหาร คิดว่า จักพักนอน ได้เอนกายลง. เท้า
12
+ 01,0033,011,ทั้งสองพ้นจากพื้น แต่ศีรษะไม่ทันถึงหมอน ในระหว่างนี้ จิตก็พ้นจากอาสวะ
13
+ 01,0033,012,ทั้งหลายไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน. ความจริง ท่านพระอานนท์นี้ยับยั้งอยู่แล้วใน
14
+ 01,0033,013,ภายนอกด้วยการจงกรม เมื่อไม่สามารถจะยังคุณวิเศษให้เกิดขึ้นได้ จึงคิดว่า
15
+ 01,0033,014,พระผู้มีพระเจ้าได้ตรัสคำนี้แก่เรามิใช่หรือว่า อานนท์ ! เธอเป็นผู้ได้ทำบุญ
16
+ 01,0033,015,ไว้แล้ว จงหมั่นประกอบความเพียรเถิด จักเป็นผู้หาอาสวะมิได้โดยฉับพลัน<SUP>*</SUP>
17
+ 01,0033,016,อันธรรมดาว่าโทษแห่งพระดำรัสของพระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมไม่มี เราปรารภ
18
+ 01,0033,017,ความเพียรมากเกินไป เพราะเหตุนั้น จิตของเราจึงเป็นไปเพื่อความฟุ้งซ่าน
19
+ 01,0033,018,เอาเถิด ! เราจะประกอบความเพียรให้สม่ำเสมอ ดังนี้ จึงลงจากที่จงกรม
20
+ 01,0033,019,ยืนล้างเท้าในที่ล้างเท้าแล้วเข้าไปสู่วิหารนั่งบนเตียง ดำริว่า จักพักผ่อนสัก
21
+ 01,0033,020,หน่อยหนึ่ง ได้เอนกายลงบนเตียง. เท้าทั้งสองพ้นจากพื้น ศีรษะยังไม่ถึงหมอน
22
+ 01,0033,021,ในระหว่างนี้ จิตก็พ้นจากอาสวะทั้งหลายไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน. ความเป็น
01/010034.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0034,001,พระอรหันต์ของพระเถระเว้นจากอิริยาบถ ๔. เพราะฉะนั้น เมื่อมีผู้ถามว่า
3
+ 01,0034,002,ในพระศาสนานี้ ภิกษุรูปไหน ไม่นอน ไม่นั่ง ไม่ยืน ไม่จงกรม ได้บรรลุ
4
+ 01,0034,003,พระอรหัต จะตอบว่า พระอานนทเถระ ก็ควร.
5
+ 01,0034,004,[<h2>พระอานนท์ดำดินไปเข้าประชุมสงฆ์</h2>]
6
+ 01,0034,005,ครั้งนั้นในวันที่ ๒ ภิกษุเถระทั้งหลายทำภัตกิจเสร็จ เก็บบาตรและ
7
+ 01,0034,006,จีวรแล้ว ไปประชุมกันที่ธรรมสภา. ส่วนพระอานนทเถระมีความประสงค์จะ
8
+ 01,0034,007,ให้ผู้อื่นรู้การบรรลุความเป็นพระอรหันต์ของตน มิได้ไปพร้อมกับภิกษุทั้งหลาย
9
+ 01,0034,008,ภิกษุทั้งหลายเมื่อจะนั่งบนอาสนะของตน ๆ ตามลำดับผู้แก่ ได้นั่งเว้นอาสนะ
10
+ 01,0034,009,ไว้สำหรับพระอานนท์เถระ. เมื่อภิกษุบางพวกในธรรมสภานั้นถามว่า นั่นอาสนะ
11
+ 01,0034,010,ใคร ภิกษุทั้งหลายตอบว่า ของพระอานนท์ ภิกษุทั้งหลายถามว่า ก็ท่าน
12
+ 01,0034,011,พระอานนท์ไปไหนเล่า ? ในสมัยนั้น พระเถระคิดว่า บัดนี้เป็นเวลาที่เราจะไป
13
+ 01,0034,012,เมื่อจะแสดงอานุภาพของตน ในลำดับนั้น จึงดำลงในแผ่นดินแล้วแสดงตน
14
+ 01,0034,013,บนอาสนะของตนนั้นเอง. อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า มาทางอากาศแล้วนั่ง ก็มี.
15
+ 01,0034,014,[<h2>พรเถระเริ่มปรึกษาและสมมติตนเป็นผู้ปุจฉาวิสัชนา</h2>]
16
+ 01,0034,015,เมื่อพระอานนท์นั้นนั่งแล้วอย่างนั้น พระมหากัสสปเถระ จึงปรึกษา
17
+ 01,0034,016,ภิกษุทั้งหลายว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย ! พวกเราจะสังคายนาอะไรก่อน พระธรรม
18
+ 01,0034,017,หรือพระวินัย ภิกษุทั้งหลายเรียนว่า ข้าแต่ท่านพระมหากัสสป ! ชื่อว่าพระวินัย
19
+ 01,0034,018,เป็นอายุของพระพุทธศาสนา เมื่อพระวินัยยังตั้งอยู่ พระพุทธศาสนาจัดว่ายัง
20
+ 01,0034,019,ดำรงอยู่ เพราะฉะนั้น พวกเราจะสังคายนาพระวินัยก่อน .
21
+ 01,0034,020,พระมหากัสสป. จะให้ใครเป็นธุระ ?
01/010035.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0035,001,ภิกษุทั้งหลาย. ให้ท่านพระอุบาลี.
3
+ 01,0035,002,ถามว่า พระอานนท์ไม่สามารถหรือ ?
4
+ 01,0035,003,แก้ว่า ไม่สามารถหามิได้. ก็อีกอย่างหนึ่งแล เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
5
+ 01,0035,004,ยังทรงพระชนม์อยู่นั่นเอง ทรงอาศัยวินัยปริยัติ จึงตั้งท่านพระอุบาลีไว้ใน
6
+ 01,0035,005,เอตทัคคะว่า ภิกษุทั้งหลาย ! บรรดาภิกษุทั้งหลาย สาวกของเราผู้ทรงวินัย
7
+ 01,0035,006,อุบาลีเป็นเลิศดังนี้ เพราะฉะนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงปรึกษากันว่า พวกเราจะถาม
8
+ 01,0035,007,พระอุบาลีเถระสังคายนาพระวินัย ดังนี้ ลำดับนั้นพระเถระก็ได้สมมติตนเอง
9
+ 01,0035,008,เพื่อต้องการถามพระวินัย. ฝ่ายพระอุบาลีเถระก็ได้สมมติตนเพื่อประโยชน์
10
+ 01,0035,009,แก่การวิสัชนา.
11
+ 01,0035,010,[<h2>คำสมมติตนปุจฉาวิสัชนาพระวินัย</h2>]
12
+ 01,0035,011,ในการสมมตินั้น มีพระบาลีดังต่อไปนี้ : -
13
+ 01,0035,012,ครั้นนั้นแล ท่านพระมหากัสสป เผดียงให้สงฆ์ทราบว่า ผู้มีอายุ
14
+ 01,0035,013,ทั้งหลาย ! ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้วไซร้
15
+ 01,0035,014,ข้าพเจ้าพึงถามพระวินัยกะพระอุบาลี.<SUP>๑</SUP>
16
+ 01,0035,015,ฝ่ายพระอุบาลีก็เผดียงให้สงฆ์ทราบว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟัง
17
+ 01,0035,016,ข้าพเจ้า ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้วไซร้ ข้าพเจ้าผู้อันท่านพระมหา-
18
+ 01,0035,017,กัสสปถามแล้วพึงวิสัชนา <SUP>๒</SUP> พระวินัย.
19
+ 01,0035,018,[<h2>ปุจฉาและวิสัชนาพระวินัย</h2>]
20
+ 01,0035,019,ท่านพระอุบาลีครั้นสมมติตนอย่างนั้นแล้ว ลุกขึ้นจากอาสนะห่มจีวร
21
+ 01,0035,020,เฉวียงบ่า ไหว้ภิกษุเถระทั้งหลายแล้วนั่งบนธรรมาสน์จับพัดวีชนี อันวิจิตร
01/010036.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0036,001,ด้วยงา. คราวนั้นพระมหากัสสปนั่งบนเถรอาสน์ แล้วถามพระวินัยกะท่าน
3
+ 01,0036,002,พระอุบาลีว่า ท่านอุบาลี ! ปฐมปาราชิก พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติ ณ
4
+ 01,0036,003,ที่ไหน ?
5
+ 01,0036,004,พระอุบาลี. ที่เมืองเวสาลี ขอรับ.
6
+ 01,0036,005,พระมหากัสสป. ทรงปรารภใคร ?
7
+ 01,0036,006,พระอุบาลี. ทรงปรารภพระสุทินกลันทบุตร.
8
+ 01,0036,007,พระมหากัสสป. ทรงปรารภในเพราะเรื่องอะไร ?
9
+ 01,0036,008,พระอุบาลี. ในเพราะเรื่องเมถุนธรรม.
10
+ 01,0036,009,ต่อจากนั้น ท่านพระมหากัสสป ถามท่านพระอุบาลีถึงวัตถุบ้าง
11
+ 01,0036,010,นิทานบ้าง บุคคลบ้าง บัญญัติบ้าง อนุบัญญัติบ้าง อาบัติบ้าง อนาบัติบ้าง
12
+ 01,0036,011,แห่งปฐมปาราชิก.<SUP>*</SUP> เหมือนอย่างว่าท่านพระมหากัสสป ถามถึงวัตถุบ้าง ฯลฯ
13
+ 01,0036,012,ถามถึงอนาบัติบ้าง แห่งปฐมปาราชิกฉันใด ก็ถามถึงวัตถุบ้าง ฯลฯ อนาบัติ
14
+ 01,0036,013,บ้าง แห่งทุติยปาราชิกฉันนั้น. . . แห่งตติยปาราชิกฉันนั้น. . . ถามถึงวัตถุบ้าง
15
+ 01,0036,014,ฯลฯ อนาบัติบ้าง แห่งจตุตถปาราชิกก็ฉันนั้น. พระอุบาลีเถระอันพระมหา-
16
+ 01,0036,015,กัสสปถามแล้ว ๆ ก็ได้วิสัชนาแล้ว.
17
+ 01,0036,016,[<h2>รวมรวมพระวินัยของภิกษุไว้เป็นหมวด ๆ</h2>]
18
+ 01,0036,017,ลำดับนั้น พระเถระทั้งหลาย ยกปาราชิก ๔ เหล่านี้ขึ้นสู่สังคหะ
19
+ 01,0036,018,(การสังคายนา) ว่า นี้ชื่อปาราชิกกัณฑ์ แล้วได้ตั้งสังฆาทิเสส ๑๓ ไว้ว่า
20
+ 01,0036,019,เตรสกัณฑ์ ตั้ง ๒ สิกขาบทไว้ว่า อนิยต ตั้ง ๓๐ สิกขาบทไว้ว่า นิสสัคคิย -
21
+ 01,0036,020,ปาจิตตีย์ ตั้ง ๙๒ สิกขาบทไว้ว่า ปาจิตตีย์ ตั้ง ๔ สิกขาบทไว้ว่า ปาฏิเทสนียะ
22
+ 01,0036,021,ตั้ง ๗๕ สิกขาบทไว้ว่า เสขิยะ ( และ) ตั้งธรรม ๗ ประการไว้ว่า อธิกรณ-
23
+ 01,0036,022,สมถะ ดังนี้.
01/010037.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0037,001,[<h2>รวบรวมวินัยของภิกษุณีเป็นหมวด ๆ</h2>]
3
+ 01,0037,002,พระเถระทั้งหลายครั้นยกมหาวิภังค์ขึ้นสู่สังคหะอย่างนี้แล้ว จึงตั้ง ๘
4
+ 01,0037,003,สิกขาบท ในภิกษุณีวิภังค์ไว้ว่า นี้ชื่อปาราชิกกัณฑ์ ตั้ง ๑๗ สิกขาบทไว้ว่า
5
+ 01,0037,004,สัตตรสกัณฑ์ ตั้ง ๓๐ สิกขาบทไว้ว่า นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ตั้ง ๑๖๖ สิกขาบท
6
+ 01,0037,005,ไว้ว่า ปาจิตตีย์ ตั้ง ๘ สิกขาบทไว้ว่า ปาฏิเทสนียะ ตั้ง ๗๕ สิกขาบทไว้ว่า
7
+ 01,0037,006,เสขิยะ (และ) ตั้งธรรม ๗ ประการไว้ว่า อธิกรณสมถะ ดังนี้.
8
+ 01,0037,007,พระเถระทั้งหลาย ครั้นยกภิกษุวิภังค์ขึ้นสู่สังคหะอย่างนี้แล้วจึงได้
9
+ 01,0037,008,ยกแม้ขันธกะและบริวารขึ้น (สู่สังคายนา) โดยอุบายนั้นนั่นแล. พระวินัยปิฎก
10
+ 01,0037,009,พร้อมทั้งอุภโตวิภังค์ขันธกะและบริวาร พระเถระทั้งหลายยกขึ้นสู่สังคหะแล้ว
11
+ 01,0037,010,ด้วยประการฉะนี้.
12
+ 01,0037,011,พระมหากัสสปเถระ ได้ถามวินัยปิฎกทั้งหมด. พระอุบาลีเถระก็ได้
13
+ 01,0037,012,วิสัชนาแล้ว. ในที่สุดแห่งการปุจฉาและวิสัชนา พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ ได้
14
+ 01,0037,013,ทำการสาธยายเป็นคณะ โดยนัยที่ยกขึ้นสู่สังคหะนั้นแล. ในอวสานแห่งการ
15
+ 01,0037,014,สังคายนาพระวินัย พระอุบาลีเถระวาพัดวีชนีอันขจิตด้วยงาแล้ว ลงจาก
16
+ 01,0037,015,ธรรมาสน์ไหว้พวกภิกษุผู้แก่แล้วนั่งบนอาสนะที่ถึงแก่ตน.
17
+ 01,0037,016,[<h2>เริ่มสังคายนาพระสูตร</h2>]
18
+ 01,0037,017,ท่านพระมหากัสสป ครั้นสังคายนาพระวินัยแล้ว ประสงค์จะสังคายนา
19
+ 01,0037,018,พระธรรม จึงถามภิกษุทั้งหลายว่า เมื่อพวกเราจะสังคายนาพระธรรม ควรจะ
20
+ 01,0037,019,ทำใครให้เห็นธุระ สังคายนาพระธรรม ?
21
+ 01,0037,020,ภิกษุทั้งหลายเรียนว่า ให้ท่านพระอานนทเถระ
01/010038.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0038,001,[<h2>คำสวดสมมติปุจฉาวิสัชนาพระสูตร</h2>]
3
+ 01,0038,002,ลำดับนั้นแล ท่านพระมหากัสสปเผดียงให้สงฆ์ทราบว่า ท่านผู้มีอายุ
4
+ 01,0038,003,ทั้งหลาย ! ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้วไซร้
5
+ 01,0038,004,ข้าเจ้าพึงถามพระธรรมกะท่านพระอานนท์.<SUP>๑</SUP>
6
+ 01,0038,005,ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ ก็เผดียงให้สงฆ์ทราบว่า ข้าแต่ท่าน
7
+ 01,0038,006,ผู้เจริญ ! ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้วไซร้
8
+ 01,0038,007,ข้าพเจ้าอันพระมหากัสสปถามแล้วพึงวิสัชนา <SUP>๒</SUP> พระธรรม
9
+ 01,0038,008,[<h2>ปุจฉาและวิสัชนาพระสูตร</h2>]
10
+ 01,0038,009,ลำดับนั้นแล ท่านพระอานนท์ลุกขึ้นจากอาสนะห่มจีวรเฉวียงบ่า ไหว้
11
+ 01,0038,010,ภิกษุผู้เถระทั้งหลายแล้วนั่งบนธรรมสาสน์จับพัดวีชนีอันขจิตด้วยงา. พระมหา-
12
+ 01,0038,011,กัสสปะเถระ ถามพระธรรมกะพระอานนทเถระว่า อานนท์ผู้มีอายุ ! พรหมชาล-
13
+ 01,0038,012,สูตรพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส ณ ที่ไหน ?
14
+ 01,0038,013,พระอานนท์. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ตรัสที่พระตำหนักหลวงในพระราช
15
+ 01,0038,014,อุทยานชื่ออัมพลัฏฐิกา ระหว่างกรุงราชคฤห์กับเมืองนาลันทาต่อกัน
16
+ 01,0038,015,พระมหากัสสป. ทรงปรารภใคร ?
17
+ 01,0038,016,พระอานนท์. ทรงปรารภสุปปิยปริพาชก และพรหมทัตตมานพ.
18
+ 01,0038,017,ต่อจากนั้น ท่านพระมหากัสสป ถามท่านพระอานนท์ถึงนิทานบ้าง บุคคลบ้าง
19
+ 01,0038,018,แห่งพรหมชาลสูตร.
20
+ 01,0038,019,พระมหากัสสป. ท่านอานนท์ผู้มีอายุ ! ก็สามัญญผลสูตร พระผู้มี-
21
+ 01,0038,020,พระภาคเจ้าตรัส ณ ที่ไหน
01/010039.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0039,001,พระอานนท์. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ! ตรัส ณ ที่สวนอัมพวันของหมอชีวก
3
+ 01,0039,002,ใกล้กรุงราชคฤห์.
4
+ 01,0039,003,พระมหากัสสป. ทรงปรารภใคร ?
5
+ 01,0039,004,พระอานนท์. ทรงปรารภพระเจ้าอชาตศัตรูเวเทหิบุตร
6
+ 01,0039,005,ต่อจากนั้น ท่านพระมหากัสสป ถามท่านพระอานนท์ถึงนิทานบ้าง
7
+ 01,0039,006,บุคคลบ้าง แห่งสามัญญผลสูตร. ถามนิกายทั้ง ๕ โดยอุบายนี้นั่น<SUP>*</SUP> แล
8
+ 01,0039,007,[<h2>นิกาย ๕</h2>]
9
+ 01,0039,008,ที่ชื่อว่านิกาย ๕ คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตร-
10
+ 01,0039,009,นิกาย ขุททกนิกาย. บรรดานิกายเหล่านั้น พระพุทธพจน์ที่เหลือยกเว้น ๔
11
+ 01,0039,010,นิกายเสีย ชื่อว่าขุททกนิกาย. ในขุททกนิกายนั้น พระวินัย ท่านอุบาลีเถระ
12
+ 01,0039,011,ได้วิสัชนาแล้ว. ขุททกนิกายที่เหลือ และอีก ๔ นิกาย พระอานนทเถระวิสัชนา.
13
+ 01,0039,012,[<h2>พระพุทธพจน์มีจำนวนต่าง ๆ กัน</h2>]
14
+ 01,0039,013,พระพุทธพจน์แม้ทั้งหมดนี้นั้น พึงทราบว่ามีอย่างเดียว ด้วยอำนาจรส
15
+ 01,0039,014,มี ๒ อย่าง ด้วยอำนาจธรรมและวินัย มี ๓ อย่าง ด้วยอำนาจปฐมะ มัชฌิมะ
16
+ 01,0039,015,ปัจฉิมะ อนึ่ง มี ๓ อย่าง ด้วยอำนาจปิฎก มี ๕ อย่าง ด้วยอำนาจนิกาย มี ๙
17
+ 01,0039,016,"อย่าง ด้วยอำนาจองค์ มี ๘๔,๐๐๐ อย่าง ด้วยอำนาจพระธรรมขันธ์. "
18
+ 01,0039,017,[<h2>พระพุทธพจน์มีอย่างเดียว</h2>]
19
+ 01,0039,018,พระพุทธพจน์ ชื่อว่ามีอย่างเดียว ด้วยอำนาจรสอย่างไร ? คือ ตาม
20
+ 01,0039,019,ความเป็นจริง พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณจนถึง
01/010040.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0040,001,ปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในระหว่างนี้ทรงพร่ำสอนเทวดา
3
+ 01,0040,002,มนุษย์ นาค และยักษ์ หรือทรงพิจารณาตลอดเวลา ๔๕ ปี ได้ตรัสพระพุทธพจน์
4
+ 01,0040,003,ใดไว้ พระพุทธพจน์นั้นทั้งหมดมีรสอย่างเดียว คือมีวิมุตติเป็นรสเท่านั้น.
5
+ 01,0040,004,พระพุทธพจน์ ชื่อว่ามีอย่างเดียว ด้วยอำนาจรส ด้วยประการฉะนี้.
6
+ 01,0040,005,[<h2> พระพุทธพจน์มี ๒ อย่าง</h2> ]
7
+ 01,0040,006,พระพุทธพจน์ชื่อว่ามี ๒ อย่าง ด้วยอำนาจธรรมและวินัยอย่างไร ?
8
+ 01,0040,007,คือ อันพระพุทธพจน์ทั้งหมดนี้นั่นแล ย่อมถึงการนับว่า พระธรรมและวินัย.
9
+ 01,0040,008,บรรดาธรรมและวินัยนั้น วินัยปิฎก ชื่อว่าวินัย. พระพุทธพจน์ที่เหลือชื่อว่า
10
+ 01,0040,009,ธรรม. เพราะเหตุนั้นนั่นแล พระมหากัสสปได้กล่าวไว้แล้วว่า ผู้มีอายุ!
11
+ 01,0040,010,อย่ากระนั้นเลย พวกเราพึงสังคายนาธรรมและวินัย และว่า เราพึงถามพระวินัย
12
+ 01,0040,011,กะท่านอุบาลี พึงถามพระธรรมกะท่านอานนท์ ดังนี้. พระพุทธพจน์ ชื่อว่ามี
13
+ 01,0040,012,๒ อย่าง ด้วยอำนาจธรรมและวินัย ด้วยประการฉะนี้
14
+ 01,0040,013,[<h2>พระพุทธพจน์มี ๓ อย่าง</h2>]
15
+ 01,0040,014,พระพุทธพจน์มี ๓ อย่าง ด้วยอำนาจปฐมะ มัชฌิมะ และปัจฉิมะ
16
+ 01,0040,015,อย่างไร ? คืออันที่จริง พระพุทธพจน์นี้ทั้งหมดนั่นแล แบ่งประเภทเป็น ๓
17
+ 01,0040,016,คือ ปฐมพุทธพจน์ มัชฌิมพุทธพจน์ (และ) ปัจฉิมพุทธพจน์
18
+ 01,0040,017,บรรดาพระพุทธพจน์ ๓ อย่างนั้น พระพุทธพจน์ว่า
19
+ 01,0040,018,<B>เราแสวงหาอยู่ซึ่งนายช่างผู้ทำเรือน
20
+ 01,0040,019,เมื่อไม่พบ ได้ท่องเที่ยวไปสู่สงสาร มีความ
21
+ 01,0040,020,เกิดเป็นอเนก ความเกิดเป็นทุกข์ร่ำไป แนะ
22
+ 01,0040,021,นายช่างผู้ทำเรือน เราพบเจ้าแล้ว เจ้าจัก</B>
01/010041.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0041,001,<B>สร้างเรือน (คืออัตภาพของเรา ไม่ได้อีก
3
+ 01,0041,002,ต่อไป ซี่โครงทั้งหมดของเจ้าเราหักเสียแล้ว
4
+ 01,0041,003,ยอดเรือน (คืออวิชชา) เรารื้อเสียแล้ว จิต
5
+ 01,0041,004,ของเราได้ถึงพระนิพพานมีสังขารไปปราศ
6
+ 01,0041,005,แล้ว เราได้บรรลุความสิ้นไปแห่งตัณหา
7
+ 01,0041,006,ทั้งหลาย<SUP>๑</SUP> แล้ว ดังนี้</B>
8
+ 01,0041,007,นี้ชื่อว่าปฐมพุทธพจน์. อาจารย์บางพวกกล่าวถึงอุทานคาถาในขันธกะ
9
+ 01,0041,008,ว่า เมื่อใดแลธรรมทั้งหลายย่อมปรากฏ <SUP>๒</SUP> ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่าปฐมพุทธพจน์.
10
+ 01,0041,009,ก็คาถานั้นเกิดแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้บรรลุความเป็นพระสัพพัญญู ทรง
11
+ 01,0041,010,พิจารณาปัจจยาการ ในพระญาณอันสำเร็จด้วยโสมนัส ในวันปาฏิบท บัณฑิต
12
+ 01,0041,011,พึงทราบว่า อุทานคาถา. อนึ่ง พระพุทธเจ้าได้ตรัสพระดำรัสใด ในคราว
13
+ 01,0041,012,ปรินิพพานว่า ภิกษุทั้งหลายเอาเถิด บัดนี้เราขอเตือนเธอทั้งหลาย สังขาร
14
+ 01,0041,013,ทั้งหลายมีความเสื่อมเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงยังกิจทั้งปวงให้ถึงพร้อมด้วย
15
+ 01,0041,014,ความไม่ประมาทเถิด <SUP>๓</SUP> นี้ชื่อว่าปัจฉิมพุทธพจน์.
16
+ 01,0041,015,พระพุทธพจน์ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในระหว่างแห่งกาลทั้ง ๒
17
+ 01,0041,016,นั้น ชื่อว่ามัชฌิมพุทธพจน์. พระพุทธพจน์ชื่อว่ามี ๓ อย่าง ด้วยอำนาจเป็น
18
+ 01,0041,017,ปฐมะ มัชฌิมะ และปัจฉิมะ ด้วยประการฉะนี้.
19
+ 01,0041,018,[<h2>ปิฎก ๓</h2>]
20
+ 01,0041,019,พระพุทธพจน์ทั้งปวงเป็น ๓ อย่าง ด้วยอำนาจแห่งปิฎกอย่างไร ?
21
+ 01,0041,020,ก็พระพุทธพจน์แม้ทั้งปวงมีอยู่ ๓ ประการเท่านั้น คือพระวินัยปิฎก พระ-
22
+ 01,0041,021,สุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก. ใน ๓ ปิฎกนั้น พระพุทธพจน์นี้คือ
01/010042.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0042,001,ประมวลพระพุทธวจนะแม้ทั้งหมด ทั้งที่ร้อยกรองในปฐมสังคายนา ทั้งที่
3
+ 01,0042,002,ร้อยกรองในภายหลัง เป็นปาฏิโมกข์ ๒ ฝ่าย วิภังค์ ๒ ขันธกะ ๒๒ บริวาร
4
+ 01,0042,003,๑๖ ชื่อวินัยปิฎก. พระพุทธวจนะนี้คือ ทีฆนิกายเป็นที่รวบรวมพระสูตร
5
+ 01,0042,004,๓๔ สูตร มีพรหมชาลสูตรเป็นต้น มัชฌิมนิกาย เป็นที่รวบรวมพระสูตร
6
+ 01,0042,005,๑๕๒ สูตร มีมูลปริยายสูตรเป็นต้น สังยุตตนิกาย เป็นที่รวบรวมพระสูตร
7
+ 01,0042,006,"๗,๗๖๒ สูตร มีโอฆตรณสูตรเป็นต้น อังคุตตรนิกาย เป็นที่รวบรวม"
8
+ 01,0042,007,"พระสูตร ๙,๕๕๗ สูตร มีจิตตปริยาทานสูตรเป็นต้น ขุททกนิกาย ๑๕ ประเภท"
9
+ 01,0042,008,ด้วยอำนาจแห่งขุททกปาฐะ ธรรมบท อุทาน อิติวุตตกะ สุตตนิบาต วิมาน-
10
+ 01,0042,009,วัตถุ เปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา ชาดก นิทเทส ปฏิสัมภิทา อปทาน
11
+ 01,0042,010,พุทธวงศ์ จริยาปิฎก ชื่อสุตตันตปิฎก. พระพุทธพจน์นี้คือธัมมสังคิณี วิภังค์
12
+ 01,0042,011,ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ กถาวัตถุ ยมก ปัฏฐาน ชื่ออภิธรรมปิฎก.
13
+ 01,0042,012,[<h2>อรรถาธิบายคำว่าวินัย</h2>]
14
+ 01,0042,013,ในพระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรมนั้น
15
+ 01,0042,014,<B>พระวินัย อันบัณฑิตผู้รู้อรรถแห่ง
16
+ 01,0042,015,พระวินัยทั้งหลายกล่าวว่า วินัย เพราะมีนัย
17
+ 01,0042,016,ต่าง ๆ เพราะมีนัยพิเศษ และเพราะฝึกกาย
18
+ 01,0042,017,และวาจา.</B>
19
+ 01,0042,018,จริงอยู่ ในพระวินัยนี้ มีนัยต่าง ๆ คือ มีปาฏิโมกขุทเทศ ๕ ประการ
20
+ 01,0042,019,กองอาบัติ ๗ มีปาราชิกเป็นต้น มาติกาและนัยมีวิภังค์เป็นต้นเป็นประเภท
21
+ 01,0042,020,และนัยคืออนุบัญญัติเป็นพิเศษ คือมีนัยอันกระทำให้มั่นและกระทำให้หย่อน
22
+ 01,0042,021,เป็นประโยชน์. อนึ่ง พระวินัยนี้ย่อมฝึกกายและวาจา เพราะห้ามซึ่งอัชฌาจาร
01/010043.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0043,001,ทางกายและทางวาจา. เพราะฉะนั้น พระวินัยนี้ ท่านจังกล่าวว่า วินัย เพราะ
3
+ 01,0043,002,มีนัยต่าง ๆ เพราะมีนัยพิเศษ และเพราะฝึกกายและวาจา. ด้วยเหตุนั้น เพื่อ
4
+ 01,0043,003,ความเป็นผู้ฉลาดในอรรถาธิบายคำแห่งวินัยนี้ ข้าพเจ้าจึงกล่าวคาถาประพันธ์
5
+ 01,0043,004,นี้ไว้ว่า
6
+ 01,0043,005,<B>พระวินัยนี้ อันบัณฑิตผู้รู้อรรถแห่ง
7
+ 01,0043,006,พระวินัยทั้งหลายกล่าวว่า วินัย เพราะมีนัย
8
+ 01,0043,007,ต่าง ๆ เพราะมีนัยพิเศษ และเพราะฝึกกาย
9
+ 01,0043,008,และวาจา ดังนี้.</B>
10
+ 01,0043,009,[<h2>อรรถาธิบายคำว่าสูตร</h2>]
11
+ 01,0043,010,ส่วนพระสูตรนอกนี้
12
+ 01,0043,011,<B>ท่านกล่าวว่า สูตร เพราะบ่งถึง
13
+ 01,0043,012,ประโยชน์ เพราะมีอรรถอันพระผู้มีพระ-
14
+ 01,0043,013,ภาคเจ้าตรัสดีแล้ว เพราะเผล็ดประโยชน์
15
+ 01,0043,014,เพราะหลั่งประโยชน์ เพราะป้องกันด้วยดี
16
+ 01,0043,015,และเพราะมีส่วนเสมอด้วยเส้นด้าย.</B>
17
+ 01,0043,016,จริงอยู่ พระสูตรนั้น ย่อมบ่งถึงประโยชน์ต่างด้วยประโยชน์มีประโยชน์
18
+ 01,0043,017,ตนและประโยชน์ผู้อื่นเป็นต้น. อนึ่ง ประโยชน์ทั้งหลายอันพระผู้มีพระภาคเจ้า
19
+ 01,0043,018,ตรัสดีแล้ว ในพระสูตรนี้ เพราะตรัสโดยอนุโลมแก่อัธยาศัยแห่งเวไนย. อนึ่ง
20
+ 01,0043,019,พระสูตรนี้ ย่อมเผล็ดประโยชน์ ท่านอธิบายว่า ย่อมเผล็ดผลดุจข้าวกล้าฉะนั้น.
21
+ 01,0043,020,อนึ่ง พระสูตรนี้ย่อมหลั่งประโยชน์เหล่านั้น ท่านอธิบายว่า ย่อมรินดุจแม่โค
01/010044.csv ADDED
@@ -0,0 +1,23 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0044,001,นมหลั่งน้ำนมฉะนั้น. อนึ่ง พระสูตรนี้ย่อมป้องกัน ท่านอธิบายว่า ย่อมรักษา
3
+ 01,0044,002,ด้วยดี ซึ่งประโยชน์เหล่านั้น. อนึ่ง พระสูตรนี้มีส่วนเสมอด้วยเส้นด้าย.
4
+ 01,0044,003,เหมือนอย่างว่าเส้นบรรทัด ย่อมเป็นประมาณของช่างไม้ฉันใด แม้พระสูตรนี้
5
+ 01,0044,004,ก็ย่อมเป็นประมาณแห่งวิญญูชนฉันนั้น. อนึ่ง เหมือนดอกไม้ที่เขาคุมไว้ด้วย
6
+ 01,0044,005,เส้นด้ายอันลมให้เรี่ยรายกระจัดกระจายไม่ได้ฉันใด ประโยชน์ทั้งหลายที่ทรง
7
+ 01,0044,006,ประมวลไว้ด้วยพระสูตรนี้ย่อมไม่เรี่ยราย ไม่กระจัดกระจายฉันนั้น. ด้วยเหตุนั้น
8
+ 01,0044,007,เพื่อความเป็นผู้ฉลาดในอรรถาธิบายคำแห่งพระสูตรนี้ ข้าพเจ้าจึงกล่าวคาถา
9
+ 01,0044,008,ประพันธ์นี้ไว้ว่า
10
+ 01,0044,009,<B>พระสูตรท่านกล่าวว่า สูตร เพราะ
11
+ 01,0044,010,บ่งถึงประโยชน์ เพราะมีอรรถอันพระผู้มี
12
+ 01,0044,011,พระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว เพราะเผล็ดประ-
13
+ 01,0044,012,โยชน์ เพราะหลั่งประโยชน์ เพราะป้องกัน
14
+ 01,0044,013,ด้วยดี และเพราะมีส่วนเสมอด้วยด้าย ดังนี้.</B>
15
+ 01,0044,014,[<h2>อรรถาธิบายคำว่าอภิธรรม</h2>]
16
+ 01,0044,015,ส่วนพระอภิธรรมนอกนี้
17
+ 01,0044,016,<B>ด้วยเหตุที่ธรรมทั้งหลาย ที่มีความ
18
+ 01,0044,017,เจริญ ที่มีความกำหนดหมาย ที่บุคคลบูชา
19
+ 01,0044,018,แล้ว ที่บัณฑิตกำหนดตัด และที่ยิ่ง อันพระ
20
+ 01,0044,019,ผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้วในพระอธิธรรมนี้
21
+ 01,0044,020,ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อภิธรรม.</B>
22
+ 01,0044,021,ก็อภิศัพท์นี้ ย่อมปรากฏในอรรถว่าเจริญ ว่ามีความกำหนดหมาย
23
+ 01,0044,022,ว่าอันบุคคลบูชาแล้ว ว่าอันบัณฑิตกำหนดตัดแล้ว และว่ายิ่ง. จริงอย่างนั้น
01/010045.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0045,001,อภิศัพท์นี้มาในอรรถว่าเจริญ ในคำเป็นต้นว่า ทุกขเวทนากล้า ย่อมเจริญ
3
+ 01,0045,002,แก่เรา<SUP>๑</SUP> ดังนี้. มาในอรรถว่ามีความกำหนดหมายในคำเป็นต้นว่า ราตรี
4
+ 01,0045,003,เหล่านั้นใด อันท่านรู้กันแล้ว กำหนดหมายแล้ว <SUP>๒</SUP> ดังนี้. มาในอรรถว่าอัน
5
+ 01,0045,004,บุคคลบูชาแล้ว ในคำมีว่า พระองค์เป็นพระราชาผู้อันพระราชาบูชาแล้ว
6
+ 01,0045,005,เป็นจอมมนุษย์<SUP>๓</SUP> เป็นอาทิ. มาในอรรถว่าอันบัณฑิตกำหนดตัดแล้ว ในคำ
7
+ 01,0045,006,เป็นอาทิว่า ภิกษุเป็นผู้สามารถเพื่อจะแนะนำเฉพาะธรรม เฉพาะวินัย<SUP>๔</SUP> ท่าน
8
+ 01,0045,007,อธิบายว่า เป็นผู้สามารถจะแนะนำในธรรมและวินัย ซึ่งเว้นจากความปะปน
9
+ 01,0045,008,กันและกัน. มาในอรรถว่ายิ่ง ในคำเป็นต้นว่า มีวรรณะงามยิ่ง<SUP>๕</SUP> ดังนี้.
10
+ 01,0045,009,ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมทั้งหลายในพระอภิธรรมนี้ มีความเจริญบ้าง
11
+ 01,0045,010,โดยนัยมีอาทิว่า ภิกษุย่อมเจริญมรรค เพื่อเข้าถึงรูปภพ <SUP>๖</SUP> ภิกษุมีจิตประกอบ
12
+ 01,0045,011,ด้วยเมตตาแผ่ไปตลอดทิศหนึ่ง <SUP>๗</SUP> อยู่. ชื่อว่ามีความกำหนดหมายบ้าง เพราะ
13
+ 01,0045,012,เป็นธรรมควรกำหนดได้ ด้วยกรรมทวารและปฏิปทาที่สัมปยุตด้วยอารมณ์
14
+ 01,0045,013,เป็นต้น โดยนัยมีอาทิว่า จิต ... ปรารภอารมณ์ใด ๆ เป็นรูปารมณ์ก็ดี
15
+ 01,0045,014,สัททารมณ์ก็ดี <SUP>๘</SUP> อันบุคคลบูชาแล้วบ้าง อธิบายว่า ควรบูชา โดยนัยเป็นต้นว่า
16
+ 01,0045,015,เสขธรรม อเสขธรรม โลกุตรธรรม<SUP>๙</SUP>. ชื่อว่าอันบัณฑิตกำหนดตัดบ้าง เพราะ
17
+ 01,0045,016,เป็นธรรมที่ท่านกำหนดตามสภาพ โดยนัยเป็นต้นว่า ในสมัยนั้น ผัสสะมี
18
+ 01,0045,017,เวทนา<SUP>๑๐</SUP>มี. ตรัสธรรมทั้งหลายที่ยิ่งบ้าง โดยนับเป็นต้นว่า มหัคคตธรรม
19
+ 01,0045,018,อัปปมาณธรรม <SUP>๑๑</SUP> อนุตตรธรรม<SUP>๑๒</SUP> ด้วยเหตุนั้น เพื่อความเป็นผู้ฉลาดใน
20
+ 01,0045,019,อรรถาธิบายคำแห่งพระอภิธรรมนี้ ข้าพเจ้าจึงกล่าวคาถาประพันธ์นี้ไว้ว่า
01/010046.csv ADDED
@@ -0,0 +1,22 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0046,001,<B>ด้วยเหตุที่ธรรมทั้งหลายที่มีความ
3
+ 01,0046,002,เจริญ ที่มีความกำหนดหมาย ที่บุคคลบูชา
4
+ 01,0046,003,แล้ว บัณฑิตกำหนดตัด และที่ยิ่ง อัน
5
+ 01,0046,004,พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้วในพระอภิ-
6
+ 01,0046,005,ธรรมนี้ ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อภิธรรม.</B>
7
+ 01,0046,006,ส่วนปิฎกศัพท์ใด เป็นศัพท์ที่ไม่พิเศษในพระวินัย พระสูตรและ
8
+ 01,0046,007,พระอภิธรรรมนี้ ปิฎกศัพท์นั้น
9
+ 01,0046,008,<B>อันบัณฑิตทั้งหลายผู้รู้อรรถแห่งปิฎก
10
+ 01,0046,009,กล่าวว่า ปิฏก โดยอรรถว่าปริยัติและภาชนะ
11
+ 01,0046,010,ศัพท์ทั้ง ๓ มีวินัยเป็นต้น บัณฑิตพึงให้
12
+ 01,0046,011,ประชุมลงด้วยปิฎกศัพท์นั้น แล้วพึงทราบ.</B>
13
+ 01,0046,012,[<h2> ปิฎกเปรียบเหมือนตะกร้า</h2>]
14
+ 01,0046,013,จริงอยู่ แม้ปริยัติ ท่านก็เรียกว่า ปิฎก ในคำทั้งหลายเป็นต้นว่า อย่าเชื่อ
15
+ 01,0046,014,โดยการอ้างตำรา<SUP>๑</SUP>. แม้ภาชนะอย่างใดอย่างหนึ่ง ท่านก็เรียกว่า ปิฎก ในคำ
16
+ 01,0046,015,เป็นต้นว่าลำดับนั้น บุรุษถือจอบและตะกร้ามา<SUP>๒</SUP>. เพราะเหตุนั้น บัณฑิต
17
+ 01,0046,016,ทั้งหลายผู้รู้อรรถแห่งปิฎกกล่าวว่า ปิฎก โดยอรรถว่าปริยัติและภาชนะ.
18
+ 01,0046,017,บัดนี้ พึงทราบอรรถแห่งบาทคาถาว่า <B>เตน สโมธาเนตฺวา ตโยปิ
19
+ 01,0046,018,วินยาทโย เยฺยา</B> โดยนัยอย่างนี้ ศัพท์แม้ทั้ง ๓ มีวินัยเป็นต้นเหล่านั้น
20
+ 01,0046,019,อันบัณฑิตพึงย่อเข้าเป็นสมาสกับด้วยปิฎกศัพท์ซึ่งมีอรรถเป็น ๒ อย่าง นี้นั้น
21
+ 01,0046,020,แล้ว พึงทราบอย่างนี้ว่า วินัยนั้นด้วยชื่อว่าปิฎกด้วย เพราะเป็นปริยัติ และ
22
+ 01,0046,021,"เพราะเป็นภาชนะแห่งเนื้อความนั้น ๆ เหตุนั้นจึงชื่อว่า วินัยปิฎก, สูตรนั้นด้วย"
01/010047.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0047,001,"ชื่อว่าปิฎกด้วยโดยนัยตามที่กล่าวแล้วนั้นแล เหตุนั้นจึงชื่อว่า สุตตปิฎก,"
3
+ 01,0047,002,อภิธรรมนั้นด้วย ชื่อว่าปิฎกด้วย โดยนัยตามที่กล่าวแล้วนั้นเอง เหตุนั้นจึง
4
+ 01,0047,003,ชื่อว่า อภิธรรมปิฎก. ก็ครั้นทราบอย่างนี้แล้ว เพื่อความเป็นผู้ฉลาดโดย
5
+ 01,0047,004,ประการต่าง ๆ ในปิฎกเหล่านั้นนั่นแลแม้อีก
6
+ 01,0047,005,<B>บัณฑิตพึงแสดงความต่างแห่งเทศนา
7
+ 01,0047,006,ศาสนา กถา และสิกขา ปหานะ คัมภีรภาพ
8
+ 01,0047,007,ในปิฎกเหล่านั้น ตามสมควร ภิกษุย่อมถึง
9
+ 01,0047,008,ซึ่งความต่างแห่งปริยัติก็ดี สมบัติและวิบัติ
10
+ 01,0047,009,ก็ดี อันใด ในปิฎกใด มีวินัยปิฎกเป็นต้น
11
+ 01,0047,010,โดยประการใด บัณฑิตพึงประกาศความ
12
+ 01,0047,011,ต่างแห่งปริยัติเป็นต้น แม้นั้นทั้งหมด โดย
13
+ 01,0047,012,ประการนั้น.</B>
14
+ 01,0047,013,วาจาเครื่องแสดงและวาจาเครื่องประกาศ ในปิฎกทั้ง ๓ นั้น ดังต่อ
15
+ 01,0047,014,ไปนี้ : - แท้จริง ปิฎกทั้ง ๓ นี้ ท่านเรียกว่า อาณาเทศนา โวหารเทศนา
16
+ 01,0047,015,ปรมัตถเทศนา และยถาปราธศาสน์ ยถานุโลมศาสน์ ยถาธรรมศาสน์ และ
17
+ 01,0047,016,ว่าสังวราสังวรรกถา ทิฏฐิวินิเวฐนกถา และนามรูปปริเฉทกถา ตามลำดับ.
18
+ 01,0047,017,ความจริง บรรดาปิฎกทั้ง ๓ นี้ วินัยปิฎกท่านให้ชื่อว่า อาณาเทศนา เพราะ
19
+ 01,0047,018,"พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ควรแก่อาณา ทรงแสดงไว้โดยเป็นปิฎกมาด้วยอาณา,"
20
+ 01,0047,019,สุตตันตปิฎก ท่านให้ชื่อว่าโวหารเทศนา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ฉลาดใน
01/010048.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0048,001,"โวหาร ทรงแสดงไว้โดยเป็นปิฎกมากด้วยโวหาร, อภิธรรมปิฎก ท่านให้ชื่อว่า"
3
+ 01,0048,002,ปรมัตถเทศนา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ฉลาดในปรมัตถ์ ทรงแสดงไว้โดย
4
+ 01,0048,003,เป็นปิฎกมากด้วยปรมัตถ์. อนึ่ง ปิฎกแรกท่านให้ชื่อว่า ยถาปราธศาสน์ เพราะ
5
+ 01,0048,004,สัตว์ทั้งหลายที่เป็นผู้มีความผิดมากนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสั่งสอนตาม
6
+ 01,0048,005,ความผิดในปิฎกนี้. ปิฎกที่สองท่านให้ชื่อว่า ยถานุโลมศาสน์ เพราะสัตว์
7
+ 01,0048,006,ทั้งหลาย ผู้มีอัธยาศัย อนุสัย จริยา และอธิมุตติไม่ใช่อย่างเดียวกัน พระผู้มี
8
+ 01,0048,007,"พระภาคเจ้าทรงสั่งสอนตามสมควรในปิฎกนี้, ปิฎกที่สามท่านให้ชื่อว่า ยถา- "
9
+ 01,0048,008,ธรรมศาสน์ เพราะสัตว์ทั้งหลายผู้มีความสำคัญในสิ่งสักว่ากองธรรมว่า เรา
10
+ 01,0048,009,"ว่า ของเรา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสั่งสอนตามธรรมในปิฎกนี้, อนึ่ง ปิฎก"
11
+ 01,0048,010,แรกท่านให้ชื่อว่า สังวราสังวรกถา เพราะความสำรวมน้อยและใหญ่ อันเป็น
12
+ 01,0048,011,"ปฏิปักษ์ต่อความละเมิด พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในปิฎกนี้, ปิฎกที่สองท่าน"
13
+ 01,0048,012,ให้ชื่อว่า ทิฏฐิวินิเวฐนกถา เพราะการคลี่คลายทิฏฐิอันเป็นปฏิปักษ์ต่อทิฏฐิ ๖๒
14
+ 01,0048,013,"พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในปิฎกนี้, ปิฎกที่สามท่านให้ชื่อว่า นามรูปปริเฉท-"
15
+ 01,0048,014,กถา เพราะการกำหนดนามรูปอันเป็นปฏิปักษ์ต่อกิเลส มีราคะเป็นต้น พระ-
16
+ 01,0048,015,"ผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในปิฎกนี้, ก็แลให้ปิฎกทั้งสามนี้ บัณฑิตพึงทราบ"
17
+ 01,0048,016,สิกขา ๓ ปานะ ๓ คัมภีรภาพ ๔ ประการ. จริงอย่างนั้น อธิสีลสิกขา
18
+ 01,0048,017,"ท่านกล่าวไว้โดยพิเศษในพระวินัยปิฎก, อธิจิตตสิกขา ท่านกล่าวไว้โดยพิเศษ"
19
+ 01,0048,018,"ในพระสุตตปิฎก, อธิปัญญาสิขาท่านกล่าวไว้โดยพิเศษในพระอภิธรรมปิฎก."
20
+ 01,0048,019,อนึ่ง ความละวีติกมกิเลสท่านกล่าวไว้ในวินัยปิฎก เพราะศีลเป็นข้าศึกต่อ
21
+ 01,0048,020,"ความละเมิดแห่งกิเลสทั้งหลาย, ความละปริยุฏฐานกิเลส ท่านกล่าวไว้ใน"
01/010049.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0049,001,"พระสุตตปิฎก เพราะสมาธิเป็นข้าศึกต่อปริยุฏฐานกิเลส, ความละอนุสัยกิเลส"
3
+ 01,0049,002,"ท่านกล่าวไว้ในอภิธรรมปิฎก เพราะปัญญาเป็นข้าศึกต่ออนุสัยกิเลส, อนึ่ง"
4
+ 01,0049,003,"การละกิเลสทั้งหลายด้วยองค์นั้น ๆ ท่านกล่าวไว้ในปิฎกที่หนึ่ง, การละด้วย"
5
+ 01,0049,004,"การข่มไว้และตัดขาด ท่านกล่าวไว้ใน ๒ ปิฎกนอนกนี้, หนึ่ง การละสังกิเลส"
6
+ 01,0049,005,"คือทุจริต ท่านกล่าวไว้ในปิฎกที่หนึ่ง, การละกิเลสคือตัณหาและทิฏฐิ ท่าน"
7
+ 01,0049,006,"กล่าวไว้ใน ๒ ปิฎกนอกนี้, ก็บัณฑิตพึงทราบความที่พระพุทธพจน์เป็นคุณลึกซึ้ง "
8
+ 01,0049,007,โดยธรรม โดยอรรถ โดยเทศนา และโดยปฏิเวธทั้ง ๔ อย่าง ในปิฎก
9
+ 01,0049,008,ทั้ง ๓ นี้ แต่ละอย่าง ๆ.
10
+ 01,0049,009,<H2>[อธิบายคัมภีรภาพ ๔ อย่าง]</H2>
11
+ 01,0049,010,บรรดาคัมภีรภาพทั้ง ๔ นั้น พระบาลี ชื่อว่าธรรม. เนื้อความแห่ง
12
+ 01,0049,011,พระบาลีนั้นนั่นแล ชื่อว่าอรรถ. การแสดงพระบาลีนั้นที่กำหนดไว้ด้วยใจนั้น
13
+ 01,0049,012,ชื่อว่าเทศนา. การหยั่งรู้พระบาลีและอรรณแห่งพระบาลีตามเป็นจริง ชื่อว่า
14
+ 01,0049,013,ปฏิเวธ. ก็เพราะในปิฎกทั้ง ๓ นี้ ธรรม อรรถ เทศนา และปฏิเวธเหล่านี้
15
+ 01,0049,014,อันบุคคลผู้มีปัญญาทรามทั้งหลายหยั่งลงได้ยากและมีที่ตั้งอาศัยที่พวกเขาไม่พึง
16
+ 01,0049,015,"ได้ ดุจมหาสมุทรอันสัตว์ทั้งหลาย มีกระต่ายเป็นต้นหยั่งลงได้ยากฉะนั้น,"
17
+ 01,0049,016,เพราะฉะนั้น จึงจัดว่าเป็นคุณลึกซึ้ง. ก็แลบัณฑิตพึงทราบคัมภีรภาพทั้ง ๔
18
+ 01,0049,017,ในปิฏกทั้ง ๓ นี้ แต่ละปิฎก ด้วยประการฉะนี้.
19
+ 01,0049,018,<H2>[อธิบายคัมภีรภาพอีกนัยหนึ่ง]</H2>
20
+ 01,0049,019,"อีกอย่างหนึ่ง เหตุ ชื่อว่าธรรม, สมจริงดังพระดำรัสที่พระผู้มี-"
01/010050.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0050,001,พระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ความรู้ในเหตุ ชื่อว่าธรรมปฏิสัมภิทา.<SUP>๑</SUP> ผลแห่งเหตุ
3
+ 01,0050,002,ชื่อว่าอรรถ สมจริงดังพระดำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าไว้ว่า ความรู้ในผล
4
+ 01,0050,003,แห่งเหตุ ชื่อว่าอัตถปฏิสัมภิทา<SUP>๒</SUP>. บัญญัติ อธิบายว่า การเทศนาธรรมตาม
5
+ 01,0050,004,ธรรม ชื่อว่าเทศนา. การตรัสรู้ชื่อว่าปฏิเวธ. ก็ปฏิเวธนั้นเป็นทั้งโลกิยะและ
6
+ 01,0050,005,โลกุตระ คือความรู้รวมลงในธรรมตามสมควรแก่อรรถ ในอรรถตามสมควร
7
+ 01,0050,006,แก่ธรรม ในบัญญัติตามสมควรแก่ทางแห่งบัญญัติ โดยวิสัยและโดยความไม่
8
+ 01,0050,007,งมงาย<SUP>๓</SUP>.
9
+ 01,0050,008,บัดนี้ ควรทราบคัมภีร์ทั้ง ๔ ประการ ในปิฎกทั้ง ๓ นี้ แต่ละ
10
+ 01,0050,009,ปิฎก เพราะเหตุที่ธรรมชาตหรืออรรถชาตใด ๆ ก็ดี อรรถที่พระผู้มีพระ-
11
+ 01,0050,010,ภาคเจ้าพึงให้ทราบย่อมเป็นอรรถมีหน้าเฉพาะต่อญาณของนักศึกษาทั้งหลาย
12
+ 01,0050,011,ด้วยประการใด ๆ เทศนาอันส่องอรรถนั้นให้กระจ่างด้วยประการนั้น ๆ นี้ใด
13
+ 01,0050,012,ก็ดี ปฏิเวธคือความหยั่งรู้ไม่วิปริตในธรรม อรรถและเทศนานี้ใดก็ดี ใน
14
+ 01,0050,013,ปิฎกเหล่านี้ ธรรม อรรถ เทศนา และปฏิเวธทั้งหมดนี้ อันบุคคลผู้มี
15
+ 01,0050,014,ปัญญาทรามทั้งหลาย มิใช่ผู้มีกุศลสมภารได้ก่อสร้างไว้ พึงหยั่งถึงได้ยากและ
16
+ 01,0050,015,ที่พึ่งอาศัยไม่ได้ ดุจมหาสมุทรอันสัตว์ทั้งหลายมีกระต่ายเป็นต้นหยั่งถึงได้ยาก
17
+ 01,0050,016,ฉะนั้น. ก็พระคาถานี้ว่า
18
+ 01,0050,017,<B>บัณฑิตพึงแสดงความต่างแห่งเทศนา
19
+ 01,0050,018,ศาสนา กถา และสิกขา ปหานะ คัมภีรภาพ
20
+ 01,0050,019,ในปิฎกเหล่านั้นตามสมควร ดังนี้</B>