File size: 4,112 Bytes
3c90236
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
Book,Page,LineNumber,Text
17,0035,001,<B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>พระองค์นั้น        ทรงผ่อนคลายความปวดเมื่อยจาก   
17,0035,002,อิริยาบถหนึ่งด้วยอิริยาบถหนึ่ง    ย่อมทรงบริหาร      คือยังทรงอัตภาพให้
17,0035,003,เป็นไปมิให้ทรุดโทรม.   เพราะฉะนั้น  ท่านจึงกล่าวว่า  ประทับอยู่    ดังนี้. 
17,0035,004,<H1>ที่มาของป่าสุภควัน</H1>
17,0035,005,ในบทว่า  <B>สุภควเน</B>  นี้  พึงทราบวินิจฉัย   ดังต่อไปนี้.  ป่าชื่อว่า
17,0035,006,<B>สุภคะ</B>   เพราะถึงความงาม  อธิบายว่า  เพราะสง่างาม   และเพราะมีสิ่งที่
17,0035,007,พึงประสงค์สวยงาม.    ก็เพราะความสวยงามของป่านั้น     ผู้คนทั้งหลายจึง
17,0035,008,พากัน ถือเอาข้าวและน้ำเป็นต้น   ไปดื่มกินเที่ยวเล่นสนุกสนานอยู่ในป่านั้น
17,0035,009,นั่นแลตลอดทั้งวัน          และปรารถนาสิ่งที่เขาปรารถนาดี ๆ  ในที่นั้นว่า
17,0035,010,ขอเราทั้งหลายจงได้ลูกชายลูกหญิงเถิด    และสิ่งที่พึงปรารถนานั้นเขาก็ได้
17,0035,011,สมปรารถนาทีเดียว  ป่านั้นชื่อว่า  <B>สุภคะ</B>   เพราะสง่างาม    และเพราะมี
17,0035,012,สิ่งที่พึงประสงค์สวยงาม   ดังพรรณนามานี้.   อีกอย่างหนึ่งชื่อว่า   <B>สุภคะ</B>
17,0035,013,แม้เพราะคนส่วนมากติดใจ    ชื่อว่า  <B>วนะ</B>   (ป่า)    เพราะอรรถว่า  สัตว์
17,0035,014,ทั้งหลายชอบใจ  คือทำให้สัตว์ทั้งหลายรักใคร่ด้วยคุณสมบัติของตัวมันเอง
17,0035,015,อธิบายว่า  ให้เกิดความน่ารักในตัวเอง  ดังนี้.
17,0035,016,อีกอย่างหนึ่ง  ชื่อว่า  <B>วนะ</B>  (ป่า)  เพราะเรียกหา  อธิบายว่า 
17,0035,017,เหมือนเรียกร้องปวงสัตว์ด้วยเสียงร้องของนก     มีนกโกกิลาเป็นต้น   ที่
17,0035,018,เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่นดอกไม้นานาพรรณ     และด้วยกิ่งก้านค่าคบใบแก่
17,0035,019,ใบอ่อนของต้นไม้ที่สั่นไหว  เพราะต้องลมอ่อนว่า   มาเถิด   มากินมาใช้
17,0035,020,กันเถิด.  ป่านั้นด้วย  ถึงความงามด้วย  ฉะนั้น  จึงชื่อว่า  <B>สุภควัน</B>.  ใน
17,0035,021,<B>ป่าสุภควัน</B>นั้น.  ธรรมดาป่า  มี  ๒  ชนิด  คือ  ป่าลูก  และป่าเกิดเอง.