|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
46,0012,001,"กระทบประสาท ภวังคจิตเกิดขึ้นเพียง ๒ ดวงเท่านั้น"" เพราะเหตุนั้น "
|
|
46,0012,002,"พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า ""เมื่อภวังคจิตเกิดขึ้น ๒ ครั้งแล้ว"
|
|
46,0012,003,"ดับไป."" คำเป็นต้นว่า <B>ชวนกฺขเณ ทุสฺสีลฺยํ วา</B> ผู้ศึกษาพึงประกอบ"
|
|
46,0012,004,เข้าตามสมควรแก่กำเนิดในทวารทั้ง ๖ เพราะว่าคำทั้งหมด ท่านกล่าว
|
|
46,0012,005,ไว้ในจักษุทวารนี้แล เพื่อจะไม่ต้องกล่าวซ้ำอีก. เพราะโทษเครื่องทุศีล
|
|
46,0012,006,กล่าวคือกายทุจริตและวจีทุจริต ไม่มีในทวารทั้ง ๕ เลย; เพราะ
|
|
46,0012,007,ฉะนั้น อสังวรคือโทษเครื่องทุศีล ผู้ศึกษาพึงประกอบเข้าด้วยสามารถ
|
|
46,0012,008,"แห่งมโนทวาร, อสังวรนอกนี้ พึงประกอบเข้าด้วยสามารถแห่ง"
|
|
46,0012,009,ทวารแม้ทั้ง ๖. เพราะอกุศลธรรมมีความเป็นผู้มีสติฟั่นเฟือนเป็นต้น
|
|
46,0012,010,อันมีธรรมเป็นปฏิปักษ์ต่อสติเป็นต้นเป็นลักษณะ พึงเกิดขึ้นได้ในทวาร
|
|
46,0012,011,ทั้ง ๕. ส่วนโทษเครื่องทุศีล อันเป็นวีติกกมโทษซึ่งเป็นไปทางกาย
|
|
46,0012,012,และวาจา ไม่พึงเกิดขึ้นในทวารทั้ง ๕ นั้นได้เลย เพราะชวนะอัน
|
|
46,0012,013,เป็นไปทางทวารทั้ง ๕ จะยังวิญญัติให้เกิดขึ้นไม่ได้แล. บทว่า <B>ยถา
|
|
46,0012,014,กึ</B> ความว่า อุทาหรณ์แห่งประการเป็นเหตุที่อสังวรซึ่งเกิดขึ้นในชวนะ
|
|
46,0012,015,"อันพระผู้มีพระภาคตรัสว่า ""ความไม่สำรวมในจักษุทวาร"" นั้นอย่าง"
|
|
46,0012,016,ไร ? อธิบายว่า เปรียบเหมือนเมื่อประตูพระนครอันบุคคลไม่ระวัง
|
|
46,0012,017,"แล้วมีอยู่, เรือนเป็นต้นอันเนื่องด้วยนครนั้นก็เป็นสถานที่อันบุคคลไม่"
|
|
46,0012,018,"ระวังด้วยฉันใด; เมื่อความไม่สำรวมมีในชวนะ, ทวารเป็นต้นอัน"
|
|
46,0012,019,เนื่องด้วยชวนะนั้น ก็เป็นอันภิกษุไม่สำรวมแล้วฉันนั้น เพราะเหตุนั้น
|
|
46,0012,020,"เมื่ออสังวรในวัตถุอื่นมี, ความที่วัตถุอื่นเป็นของอันบุคคลไม่ระวังแล้ว"
|
|
46,0012,021,ก็ย่อมมีได้ เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงแสดงความเป็น
|
|
|