|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0020,001,"ฉะนั้น เมื่อมีสัญญาวิเสสนะ ก็ต้องมีสัญญีวิเสสิยะเป็นคู่กัน, เรียก "
|
|
13,0020,002,"สั้น ๆ มีสัญญา ก็ต้องมีสัญญี, แม้จะไม่เรียก บทที่เป็นตัวเข้าของ "
|
|
13,0020,003,สัญญา ก็เป็นสัญญี หรือสัญญีวิเสสิยะอยู่ในตัว. บทนามนามที่เป็น
|
|
13,0020,004,ตัวสัญญีนี้ ไม่พึงทิ้งชื่อในอรรถที่ใช้ในประโยค เช่น สยกัตตา เป็นต้น.
|
|
13,0020,005,"ดังตัวอย่างง่าย ๆ ว่า กุมฺภโฆสโก นาม เสฏฺี ""เศรษฐี ชื่อว่า"
|
|
13,0020,006,"กุมภโฆสก."" เรียกสัมพันธ์ว่า กุมฺภโฆสโกติ ปทํ เสฏฺีติ ปทสฺส"
|
|
13,0020,007,สญฺาวิเสสนํ. นามสทฺโท สญฺโชตโก. เสฏฺีติ ปทํ สญฺีวิเสสิยํ.
|
|
13,0020,008,(และสยกัตตาเป็นอาทิในอะไร ก็ต้องออก).
|
|
13,0020,009,[ ๒ ] จะกล่าวถึงสัญญี-สัญญา ที่ท่านเรียกในโยชนา พร้อมทั้ง
|
|
13,0020,010,ตัวอย่าง และจะแสดงตัวอย่างในธัมมปอัฏฐกถาด้วย.
|
|
13,0020,011,"สัญญี-สัญญานี้ กำหนดลักษณะสั้น ๆ , สัญญีก็คือบทวิเคราะห์"
|
|
13,0020,012,ความ. (กล่าวเพื่อเข้าใจง่าย ก็คือบทที่แปลขึ้นก่อน เป็นตัวเข้าของ
|
|
13,0020,013,' ชื่อว่า' )สัญญา ก็คือบทรับรองหรือปลงความ. (กล่าวเพื่อเข้าใจง่าย
|
|
13,0020,014,ก็คือบทที่เป็นตัว 'ชื่อว่า .' ) สัญญี-สัญญา โดยปกติมีในอรรถกถาที่แก้
|
|
13,0020,015,บาลีเป็นต้น หรือในตอนที่อธิบายอรรถแห่งคำที่กล่าวไว้ข้างต้น หรือที่
|
|
13,0020,016,ยกมาอธิบาย และบทสัญญาต้องเป็นบทที่มาในบาลีเป็นต้น หรือใน
|
|
13,0020,017,ความท่องต้น ที่ในอรรถกถาเป็นต้น หรือในความท่อนหลังยกมา.
|
|
13,0020,018,อีกอย่างหนึ่ง ในวิเคราะห์ศัพท์ท่านเรียกอัญญบทของปลงว่า
|
|
13,0020,019,สัญญี เรียกบทปลงว่าสัญญา.
|
|
13,0020,020,สัญญี-สัญญานี้ รวมกันเป็นพากยางค์ ก็เป็นพากยางค์ลิงคัตถะ
|
|
13,0020,021,"นั่นเอง. บทประธานในพากยางค์ลิงคัตถะที่เป็นสัญญี, ในโยชนา"
|
|
13,0020,022,"เรียกชื่อสัญญีชื่อเดียวเป็นพื้น, แบบนักเรียนควรเรียกคู่กันไป. ในตัว"
|
|
|