|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0035,001,๑. <B>ต้องแปลง ณฺวุ เป็น อก ในธาตุทั้งปวง</B> คือ ธาตุทุกตัว
|
|
11,0035,002,ที่นำมาลง ณฺวุ ปัจจัยแล้ว ณฺวุ ปัจจัยจะต้องแปลงเป็น อก เสมอไป
|
|
11,0035,003,"ไม่คงไว้ตามเดิม เช่น <B>อนุสาสโก, ฆาตโก</B> เป็นต้น. "
|
|
11,0035,004,๒. <B>เฉพาะ า ธาตุให้แปลงเป็น อานนก</B> คือ มีธาตุนี้ตัว
|
|
11,0035,005,เดียวเท่านั้นที่แปลงเป็น อานนก เช่น <B>ชานนโก</B> (ผู้รู้) เป็น า
|
|
11,0035,006,ธาตุ แล้วแปลงเป็น ชา ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลง ณฺวุ เป็น อานนก
|
|
11,0035,007,ตั้ง วิ. ว่า <B>ชานาตี-ติ ชานนโก.</B> (ชนใด) ย่อมรู้ เหตุนั้น (ชนนั้น)
|
|
11,0035,008,ชื่อว่า ผู้รู้. เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
|
|
11,0035,009,๓. <B>ต้นธาตุเป็นรัสสะให้พฤทธิ์ได้ </B>เช่น โภชโก ภุชฺ ธาตุ
|
|
11,0035,010,ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลงเป็น อก เพราะ ณฺวุ ให้ พฤทธิ์ อุ ที่ ภุ เป็น
|
|
11,0035,011,โอ ตั้ง วิ. ว่า ภุญฺชตี-ติ โภชโก. (ชนใด) ย่อมบริโภค เหตุนั้น
|
|
11,0035,012,(ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้บริโภค. เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
|
|
11,0035,013,๔. <B>ต้นธาตุเป็นทีฆะหรือมีตัวสะกด ห้ามมิให้พฤทธิ์ </B> เช่น
|
|
11,0035,014,<B>ยาจโก</B> ยาจฺ ธาตุ ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลงเป็น อก ไม่ต้องพฤทธิ์ ตั้ง
|
|
11,0035,015,วิ. ว่า <B>ยาจตี- ยาจโก.</B> (ชนใด) ย่อมขอ เหตุนั้น (ชนนั้น)
|
|
11,0035,016,ชื่อว่า ผู้ขอ. รกฺขโก รกฺข ธาตุ ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลงเป็น อก
|
|
11,0035,017,ไม่ต้องพฤทธิ์ ตั้ง วิ. ว่า <B>รกฺขตี-ติ รกฺขโก.</B> (ชนใด) ย่อมรักษา
|
|
11,0035,018,เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้รักษา. ๒ นี้เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
|
|
11,0035,019,๕. <B>ธาตุมี อา อยู่เบื้องหลัง ลง ย ปัจจัยหลังธาตุ </B> เช่น
|
|
11,0035,020,<B>ปายโก ทายโก</B> เป็นต้น. ปายโก ปา ธาตุ ลง ณฺวุ แล้วแปลงเป็น
|
|
|