Book,Page,LineNumber,Text
11,0035,001,๑. ต้องแปลง ณฺวุ เป็น อก ในธาตุทั้งปวง คือ ธาตุทุกตัว
11,0035,002,ที่นำมาลง ณฺวุ ปัจจัยแล้ว ณฺวุ ปัจจัยจะต้องแปลงเป็น อก เสมอไป
11,0035,003,"ไม่คงไว้ตามเดิม เช่น อนุสาสโก, ฆาตโก เป็นต้น. "
11,0035,004,๒. เฉพาะ า ธาตุให้แปลงเป็น อานนก คือ มีธาตุนี้ตัว
11,0035,005,เดียวเท่านั้นที่แปลงเป็น อานนก เช่น ชานนโก (ผู้รู้) เป็น า
11,0035,006,ธาตุ แล้วแปลงเป็น ชา ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลง ณฺวุ เป็น อานนก
11,0035,007,ตั้ง วิ. ว่า ชานาตี-ติ ชานนโก. (ชนใด) ย่อมรู้ เหตุนั้น (ชนนั้น)
11,0035,008,ชื่อว่า ผู้รู้. เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
11,0035,009,๓. ต้นธาตุเป็นรัสสะให้พฤทธิ์ได้ เช่น โภชโก ภุชฺ ธาตุ
11,0035,010,ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลงเป็น อก เพราะ ณฺวุ ให้ พฤทธิ์ อุ ที่ ภุ เป็น
11,0035,011,โอ ตั้ง วิ. ว่า ภุญฺชตี-ติ โภชโก. (ชนใด) ย่อมบริโภค เหตุนั้น
11,0035,012,(ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้บริโภค. เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
11,0035,013,๔. ต้นธาตุเป็นทีฆะหรือมีตัวสะกด ห้ามมิให้พฤทธิ์ เช่น
11,0035,014,ยาจโก ยาจฺ ธาตุ ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลงเป็น อก ไม่ต้องพฤทธิ์ ตั้ง
11,0035,015,วิ. ว่า ยาจตี- ยาจโก. (ชนใด) ย่อมขอ เหตุนั้น (ชนนั้น)
11,0035,016,ชื่อว่า ผู้ขอ. รกฺขโก รกฺข ธาตุ ลง ณฺวุ ปัจจัย แล้วแปลงเป็น อก
11,0035,017,ไม่ต้องพฤทธิ์ ตั้ง วิ. ว่า รกฺขตี-ติ รกฺขโก. (ชนใด) ย่อมรักษา
11,0035,018,เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้รักษา. ๒ นี้เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
11,0035,019,๕. ธาตุมี อา อยู่เบื้องหลัง ลง ย ปัจจัยหลังธาตุ เช่น
11,0035,020,ปายโก ทายโก เป็นต้น. ปายโก ปา ธาตุ ลง ณฺวุ แล้วแปลงเป็น