|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
44,0048,001,ให้ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เพื่อความเป็นผู้ใคร่ประโยชน์แก่ชน
|
|
44,0048,002,"เหล่าอื่น ชื่อธรรมทาน."" "
|
|
44,0048,003,[๔๒] จริงอยู่ ธรรมทานจัดเป็นเลิศ ประเสริฐ ก็เพราะชำนะ
|
|
44,0048,004,อามิสทานทั้งปวง. เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเมื่อจะทรงแสดงธรรมแก่
|
|
44,0048,005,ท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพดา จึงตรัสไว้ในตัณหาวรรค ธรรมบทว่า :-
|
|
44,0048,006,"<B>""ธรรมทาน ย่อมชำนะทานทั้งปวง, รสแห่งธรรม"
|
|
44,0048,007,"ย่อมชำนะรสทั้งปวง, ความยินดีในธรรม ย่อม"
|
|
44,0048,008,"ชำนะความยินดีทั้งปวง, ความสิ้นไปแห่งตัณหา"
|
|
44,0048,009,"ย่อมชำนะทุกข์ทั้งปวง.""</B>"
|
|
44,0048,010,"ฎีกาเทวตาสังยุตในสคาถวรรคว่า ""อามิสทาน อภัยทานตามที่"
|
|
44,0048,011,กล่าวแล้ว ชื่อว่าทานทั้งปวง. บทว่า <B>ธมฺมทานํ</B> ได้แก่ การแสดง
|
|
44,0048,012,"ธรรม."""
|
|
44,0048,013,"[๔๓] อรรถกถาธรรมบทว่า ""ก็แม้ถ้าบุคคลพึงถวายจีวรเช่น"
|
|
44,0048,014,กับปลีกล้วยแด่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระขีณาสพ
|
|
44,0048,015,ทั้งหลายผู้นั่งติด ๆ กัน ในห้องจักรวาลตลอดถึงพรหมโลก การ
|
|
44,0048,016,อนุโมทนาที่พระพุทธเจ้าเป็นต้นทำด้วยพระคาถา ๔ บาท ในสมาคมนั้น
|
|
44,0048,017,นั่นแลประเสริฐ; เพราะทานนั้น หามีค่าถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งพระ
|
|
44,0048,018,คาถานั้นไม่. การแสดงก็ดี การบอกก็ดี การสดับก็ดี ซึ่งธรรม เป็น
|
|
44,0048,019,"การใหญ่อย่างนี้. อนึ่ง บุคคลใด ให้ทำการฟังธรรมนั้น, อานิสงส์"
|
|
44,0048,020,เป็นอันมาก ย่อมมีแก่บุคคลนั้นแท้. ธรรมทานที่พระพุทธเจ้า
|
|
44,0048,021,เป็นต้นให้เป็นไปแล้ว แม้ด้วยอำนาจอนุโมทนา โดยที่สุดด้วยพระคาถา
|
|
|