buddhist-theology / 41 /410015.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
3.94 kB
Book,Page,LineNumber,Text
41,0015,001,"อักขรบท"" ดังนี้ ก็ใช้ได้ เพราะท่านกล่าวไว้ในคัมภีร์สันธิ<SUP>๑</SUP>พาลาตาร"
41,0015,002,"ว่า ""การนิยมอักษร พึงชื่อว่าฉันท์, การนิยมครุและลหุพึงชื่อว่า "
41,0015,003,"พฤทธิ"" และเพราะท่านกล่าวไว้ในฎีกาแห่งสันธิพาลาตาร<SUP>๑</SUP> นั้นว่า"
41,0015,004,"""การนิยม คือวิธีวิเศษอันท่านกำหนดด้วยอักษรเหล่านี้ คือ <B>ย, ร, ต, "
41,0015,005,"ภ, ช, ส, ม, น,</B><SUP>๒</SUP> กล่าวคือ <B>ยชมาน</B> (ผู้บูชายัญ) <B>รวิ</B> (พระอาทิตย์)"
41,0015,006,<B>โตย</B> (น้ำ) <B>ภูมิ</B> (แผ่นดิน) <B>ชลน</B> (ไฟ) <B>โสม</B> (พระจันทร์)
41,0015,007,<B>มารุต</B> (ลม) <B>นภ</B> (ฟ้า) พึงชื่อว่าฉันท์ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า
41,0015,008,"""ปิดเสียงซึ่งโทษ"" การกำหนดด้วยครุและลหุทั้งหลาย พึงชื่อว่าพฤทธิ"
41,0015,009,"เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ""เป็นเครื่องกล่าว (คาถา). ก็คณะ ๘ ย่อม"
41,0015,010,ได้ชื่อว่า <B>ย</B> คณะเป็นต้น ด้วยสามารถแห่งอักษร ๘ เหล่าใด อักขระ
41,0015,011,๘ มี <B>ย</B> อักษรเป็นต้นเหล่านั้นแล ท่านถือเอาแล้วด้วยศัพท์ว่าอักษร
41,0015,012,ในบทว่า <B>อกฺขรปทํ</B> นี้. ในการนิยม ๒ อย่างนั้น การนิยมอักษร
41,0015,013,ได้ในวรรณพฤทธิ; และในวรรณพฤทธิ นั้น ม คณะมีครุ ๓ น คณะ
41,0015,014,"มีลหุ ๓. ส่วนการนิยมครุและลหุ ได้ในมาตราพฤทธิ, และในมาตรา"
41,0015,015,พฤทธินั้น ม คณะมีครุ ๒ น คณะมีลหุ ๔. ส่วนคณะที่เหลือในพฤทธิ
41,0015,016,ทั้ง ๒ เป็นเช่นเดียวกันแล.
41,0015,017,[ข้อความเบ็ดเตล็ด]
41,0015,018,"[๑๒] บทว่า <B>อชฺฌภาสิ</B> แปลว่า ได้กล่าวแล้ว, ความว่า"
41,0015,019,ทูลถาม. ส่วนศัพท์ว่า <B>อธิ </B>นั้น เป็นเพียงอุปสัค.
41,0015,020,
41,0015,021,๑. ปกรณ์แรก เป็นบาลี ปกรณ์หลัง เป็นฎีกา เป็นคัมภีร์ในจำพวกสัททาวิเสส
41,0015,022,๒. เป็นชื่อคณะฉันท์ ย่อมมาจากศัพท์แสดงเบญจธาตุกับตะวัน เดือน พราหมณ์บูชายัญ ๘
41,0015,023,ด้วยกัน รวมเรียก อษฺฏมุรติ คือ ๘ รูปกายของพระอิศวร