|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0040,001,ข. ของหลายอย่าง ที่ห่อรวมกันบ้าง ของสิ่งเดียวบ้าง ที่นำมา
|
|
09,0040,002,ซ้อนกัน ต้องห่อของที่ควรห่อเสียก่อนแล้วซ้อนกันฉันใด การตั้ง
|
|
09,0040,003,วิเคราะห์สมาสท้องบางอย่างก็เช่นนั้น คือควรเข้าสมาสนามที่เนื่องกัน
|
|
09,0040,004,โดยเนื้อความเสียก่อน แล้วนำมาเข้าสมาสกับบทอื่น ๆ ต่อไป เช่น:-
|
|
09,0040,005,๑. พาโล ปุริโส=พาลปุริโส บุรุษโง่.
|
|
09,0040,006,๒. ปณฺฑิโต ปุริโส=ปณฺฑิตปุริโส บุรุษฉลาด.
|
|
09,0040,007,๓. พาลปุริโส จ ปณฺฑิตปุริโส จ พาลปุริสปณฺฑิตปุริสา.
|
|
09,0040,008,(อามาหารทวันทวะ) บุรุษผู้โง่และผู้ฉลาดทั้งหลาย.
|
|
09,0040,009,ใน อุ. นี้ เราจะเห็นได้ในข้อ ๑ ว่า พาล ศัพท์เป็นคุณของ ปุริส
|
|
09,0040,010,ต้องเข้ากันเสียก่อน และในข้อ ๒ ปณฺฑิต ศัพท์ เป็นคุณของ ปุริส
|
|
09,0040,011,ก็ต้องเข้ากันเสียก่อน แล้วจึงมาต่อกันในข้อ ๓ เวลาแปลก็ต้องแปล
|
|
09,0040,012,ข้อ ๑ ก่อน แล้วจึงแปลข้อ ๒ ข้อ ๓ ต่อไป เพราะการแปละสมาสท้อง
|
|
09,0040,013,บางสมาส ขึ้นบทหน้าก่อนก็มี ขึ้นบทท่ามกลางก่อนก็มี ขึ้นบทหลังก่อน
|
|
09,0040,014,ก็มี แล้วแต่เนื้อความจะบ่งให้เห็นไปทางไหน ดีกว่า ถูกว่ากัน เท่านั้น.
|
|
09,0040,015,ค. การเข้าสมาสและแปลต้องสังเกตความเป็นสำคัญ ข้อนี้บาง
|
|
09,0040,016,คราวตั้ง วิ. ก่อน แปลทีหลังก็มี ตั้งทีหลังแปลก่อนก็มี ตั้งก่อน
|
|
09,0040,017,แปลก่อน ตั้งทีหลังแปลทีหลังก็มี แล้วแต่เนื้อความอันเชื่อมกันเป็น
|
|
09,0040,018,หลัก ข้อนี้ผู้ศึกษาต้องวิจารณ์ให้ดีให้ถูกต้องตามหลักแห่งคำแปลเนื้อ
|
|
09,0040,019,ความ และตั้งวิเคราะห์ดำเนินตามหลักของสมาสนั้น แล้วนำมาเข้า
|
|
09,0040,020,สมาสท้องให้ถูกต้องตามคำแปลและหลักสมาส อาศัยความชำนาญทั้ง ๒
|
|
09,0040,021,ทาง คือภาษาอย่าง ๑ หลักสมาสอย่าง ๑ รวมกันจึงจะตั้งวิเคราะห์และ
|
|
|