|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
26,0024,001,และเล็บหักในเมื่อเวลาล่วงไป. ด้วยบทว่า <B>ปาลิจฺจํ</B> นี้ ทรงแสดงโดย
|
|
26,0024,002,กิจคือภาวะที่ผมและขนหงอก ด้วยบทว่า <B>วลิตจตา</B> นี้ ทรงแสดงโดย
|
|
26,0024,003,กิจคือภาวะที่เนื้อเหี่ยวแห้งและหนังหย่อน เพราะเหตุนั้น ศัพท์ ๓ ศัพท์
|
|
26,0024,004,มีศัพท์ว่า <B>ขณฺฑิจฺจํ</B> เป็นต้นเหล่านี้ เป็นศัพท์แสดงกิจในเพราะเวลาล่วง
|
|
26,0024,005,ไปถึงชรา. ด้วยศัพท์ทั้ง ๓ นั้น ท่านแสดงชราที่ปรากฏโต้ง ๆ โดย
|
|
26,0024,006,แสดงความเปลี่ยนแปลง เปรียบเหมือนทางไปของน้ำ ลม หรือไฟ ย่อม
|
|
26,0024,007,ปรากฏ เพราะหญ้าและต้นไม้เป็นต้นถูกเผาทำลายหรือไหม้ แต่ทางไป
|
|
26,0024,008,ของหญ้าและต้นไม้นั้นไม้ปรากฏ ปรากฏแต่น้ำเป็นต้นเท่านั้น ฉันใด
|
|
26,0024,009,ทางไปของชราปรากฏโดยที่ฟันหักเป็นต้น ฉันนั้นเหมือนกัน อวัยวะมี
|
|
26,0024,010,ฟันเย็นต้น บุคคลแม้ลืมตาดูก็จับเอาได้ แต่ความที่ฟันหักเป็นต้น แม้
|
|
26,0024,011,ลืมตาก็จะรู้ทางจักษุไม่ได้ จับเอาไม่ได้ ชราก็ไม้ได้เหมือนกัน เพราะว่า
|
|
26,0024,012,ชราไม้พึงรู้ด้วยจักษุ.
|
|
26,0024,013,ก็ด้วยบทว่า <B>อายุโน สํหานิ อินฺทฺริยานํ ปริปาโก</B> (ความเสื่อม
|
|
26,0024,014,แห่งอายุ ความหง่อมแห่งอินทรีย์) นี้ <B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>ทรงแสดง
|
|
26,0024,015,ไว้ตามปกติ เพราะบุคคลจะเข้าใจความสิ้นไปแห่งอายุ และความ
|
|
26,0024,016,หง่อมแห่งอินทรีย์มีจักษุเป็นต้น เพราะสังขารแปรปรวนไปในเมื่อเวลา
|
|
26,0024,017,ล่วงไปนั่นแล. เพราะเหตุนั้น บท ๒ บทหลังนี้ แห่งคำว่า ชรานั้น
|
|
26,0024,018,พึงทราบว่าเป็นบทแสดงความปกติ. เพราะใน ๒ บทเหล่านั้น บุคคลผู้
|
|
26,0024,019,ถึงชรา อายุย่อมเสื่อมไป ฉะนั้น ชรา <B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>จึงตรัสไว้
|
|
26,0024,020,โดยอิงเหตุใกล้กับผลว่า ความเสื่อมอายุ. และเพราะในเวลาเป็นหนุ่ม
|
|
26,0024,021,อินทรีย์มีจักษุเป็นต้นก็ผ่องใส สามารถจะรับอารมณ์ของตนแม้ที่ละเอียด
|
|
26,0024,022,ได้โดยง่ายนัก เมื่อบุคคลถึงความชราแล้วย่อมแก่หง่อม คือขุ่นมัว ได้แก่
|
|
|