Book,Page,LineNumber,Text 26,0024,001,และเล็บหักในเมื่อเวลาล่วงไป. ด้วยบทว่า ปาลิจฺจํ นี้ ทรงแสดงโดย 26,0024,002,กิจคือภาวะที่ผมและขนหงอก ด้วยบทว่า วลิตจตา นี้ ทรงแสดงโดย 26,0024,003,กิจคือภาวะที่เนื้อเหี่ยวแห้งและหนังหย่อน เพราะเหตุนั้น ศัพท์ ๓ ศัพท์ 26,0024,004,มีศัพท์ว่า ขณฺฑิจฺจํ เป็นต้นเหล่านี้ เป็นศัพท์แสดงกิจในเพราะเวลาล่วง 26,0024,005,ไปถึงชรา. ด้วยศัพท์ทั้ง ๓ นั้น ท่านแสดงชราที่ปรากฏโต้ง ๆ โดย 26,0024,006,แสดงความเปลี่ยนแปลง เปรียบเหมือนทางไปของน้ำ ลม หรือไฟ ย่อม 26,0024,007,ปรากฏ เพราะหญ้าและต้นไม้เป็นต้นถูกเผาทำลายหรือไหม้ แต่ทางไป 26,0024,008,ของหญ้าและต้นไม้นั้นไม้ปรากฏ ปรากฏแต่น้ำเป็นต้นเท่านั้น ฉันใด 26,0024,009,ทางไปของชราปรากฏโดยที่ฟันหักเป็นต้น ฉันนั้นเหมือนกัน อวัยวะมี 26,0024,010,ฟันเย็นต้น บุคคลแม้ลืมตาดูก็จับเอาได้ แต่ความที่ฟันหักเป็นต้น แม้ 26,0024,011,ลืมตาก็จะรู้ทางจักษุไม่ได้ จับเอาไม่ได้ ชราก็ไม้ได้เหมือนกัน เพราะว่า 26,0024,012,ชราไม้พึงรู้ด้วยจักษุ. 26,0024,013,ก็ด้วยบทว่า อายุโน สํหานิ อินฺทฺริยานํ ปริปาโก (ความเสื่อม 26,0024,014,แห่งอายุ ความหง่อมแห่งอินทรีย์) นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดง 26,0024,015,ไว้ตามปกติ เพราะบุคคลจะเข้าใจความสิ้นไปแห่งอายุ และความ 26,0024,016,หง่อมแห่งอินทรีย์มีจักษุเป็นต้น เพราะสังขารแปรปรวนไปในเมื่อเวลา 26,0024,017,ล่วงไปนั่นแล. เพราะเหตุนั้น บท ๒ บทหลังนี้ แห่งคำว่า ชรานั้น 26,0024,018,พึงทราบว่าเป็นบทแสดงความปกติ. เพราะใน ๒ บทเหล่านั้น บุคคลผู้ 26,0024,019,ถึงชรา อายุย่อมเสื่อมไป ฉะนั้น ชรา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ 26,0024,020,โดยอิงเหตุใกล้กับผลว่า ความเสื่อมอายุ. และเพราะในเวลาเป็นหนุ่ม 26,0024,021,อินทรีย์มีจักษุเป็นต้นก็ผ่องใส สามารถจะรับอารมณ์ของตนแม้ที่ละเอียด 26,0024,022,ได้โดยง่ายนัก เมื่อบุคคลถึงความชราแล้วย่อมแก่หง่อม คือขุ่นมัว ได้แก่