|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
50,0030,001,แปลว่าสิ้นกำหนัด ดังนี้.
|
|
50,0030,002,๑๖/๙/๗๐
|
|
50,0030,003,ถ. วฏฺฏูปจิเฉโท ความเข้าไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ อันเป็นไวพจน์
|
|
50,0030,004,ของวิราคะ เป็นประเสริฐแห่งธรรมทั้งหลาย วัฏฏะนั้น คือกรรม
|
|
50,0030,005,กิเลสและวิบาก ถ้าจะว่ากรรมเป็นเครื่องตัดวัฏฏะได้หรือไม่ ? จะพึง
|
|
50,0030,006,เฉลยให้ได้ความอย่างไร ?
|
|
50,0030,007,ต. กรรมเป็นเครื่องวัฏฏะไม่ได้ แม้ครุกรรมฝ่ายกุศล ท่าน
|
|
50,0030,008,ก็หมายตั้งแต่มหัคคตญาณ ซึ่งเป็นอัปปนาอันไม่กำเริบ ขึ้นไปถึง
|
|
50,0030,009,อริยมรรคเบื้องต่ำ จะถึงอนาคามิมรรคเท่านั้น.
|
|
50,0030,010,๑๘/๘/๗๑
|
|
50,0030,011,ถ. ตัณหักขยธรรม เป็นผลสืบเนื่องมาจากไหน ? จงอ้างหลัก
|
|
50,0030,012,มาตอบประกอบคำอธิบาย ?
|
|
50,0030,013,ต. เป็นผลสืบเนื่องมาจากนิพพิทา คือความหน่าย อ้างบาลี
|
|
50,0030,014,อุเทสอันมาในอนัตตลักขณสูตรว่า นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ เมื่อหน่าย
|
|
50,0030,015,ย่อมสิ้นกำหนัด อธิบายว่า ตัณหักขยธรรม คือธรรมเป็นที่สิ้นไป
|
|
50,0030,016,แห่งตัณหา เป็นไวพจน์คือคำสำหรับเรียกแทนวิราคธรรม หรือจะว่า
|
|
50,0030,017,เป็นอันเดียวกันต่างกันแต่พยัญชนะ เหมือนกันโดยอรรถรส เพราะ
|
|
50,0030,018,พระบาลีมีอยู่ว่า เมื่อหน่ายย่อมสิ้นกำหนัด คำว่าหน่ายคือนิพพิทา
|
|
50,0030,019,เป็นเหตุแห่งความสิ้นกำหนัด วิราคธรรมก็ต้องนับว่าเป็นผล.
|
|
50,0030,020,ส. ป.
|
|
50,0030,021,ถ. วิราคะอันเป็นอาการของปัญจขันธ์ เช่นคำว่า วิราคธมฺมา
|
|
|