|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
46,0050,001,ถือเอาในมงคลข้อว่า <B>อารตี วิรตี ปาปา นี้ เพราะทรงถือเอาด้วย
|
|
46,0050,002,"มัชชปานะข้างหน้าฉันใด, ข้ออุปไมยนี้ก็พึงเห็นฉันนั้น. ด้วยเหตุนั้น "
|
|
46,0050,003,"พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวไว้ในอรรถกถาว่า "" ชื่อว่าพรหมจรรย์ เป็น"
|
|
46,0050,004,ชื่อแห่งเมถุนวิรัติ สมณธรรม ศาสนา และมรรค. แต่เพราะมรรค
|
|
46,0050,005,ทรงถือเอาข้างหน้า ด้วยอริยสัจจทัสสนะ พรหมจรรย์ที่เหลือแม้ทั้ง
|
|
46,0050,006,หมด จึงควรในมงคลข้อว่า <B>พฺรหฺมจริยํ</B> นี้. บรรดาเมถุนวิรัติเป็นต้น
|
|
46,0050,007,"เหล่านั้น ผิว่าจะทรงถือเอาศาสนาในมงคลข้อว่า <B>พฺรหฺมจริยํ</B> นี้ไซร้,"
|
|
46,0050,008,จะต้องโทษคือการกล่าวซ้ำกันไป. เพราะว่าศาสนาคือปริยัติ ทรงถือ
|
|
46,0050,009,เอาด้วยสุภาสิตวาจานั่นแล.
|
|
46,0050,010,"จริงอยู่ แม้ในเบื้องต้น พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า "" วาจาเป็น"
|
|
46,0050,011,เครื่องแสดงธรรมแก่ชนเหล่าอื่น บัณฑิตพึงทราบว่า ' สุภาสิตวาจา ' ใน
|
|
46,0050,012,"มงคลข้อว่า <B>สุภาสิตา จ ยา วาจา</B> นี้."" เพราะเหตุนั้น บัณฑิตพึง"
|
|
46,0050,013,ทราบข้ออุปไมยนี้ ดังที่นิโรธสัจไม่ทรงถือเอาในมงคลข้อนี้ว่า <B>นิพฺพาน</B>-
|
|
46,0050,014,<B>สจฺฉิกิริยา</B> ( ทำพระนิพพานให้แจ้ง ) ภายหลัง เพราะทรงถือเอาใน
|
|
46,0050,015,มงคลข้อนี้ว่า <B>อริยสจฺจานทสฺสนํ</B> ฉะนั้น.
|
|
46,0050,016,[ พรหมจรรย์เป็นมงคล ]
|
|
46,0050,017,[๕๑๖] โดยปาริเสสนัย ย่อมได้พรหมจรรย์ คือเมถุนวิรัติและ
|
|
46,0050,018,"สมณธรรมเท่านั้น ด้วยประการฉะนี้, ก็พรหมจรรย์นั่นนั้น ชื่อว่าเป็น"
|
|
46,0050,019,มงคล เพราะเป็นเหตุบรรลุคุณพิเศษมีประการต่าง ๆ สูง ๆ ขึ้นไป.
|
|
46,0050,020,ในข้อที่พรหมจรรย์ตามที่กล่าวมาเป็นมงคลนั้น มีเรื่องเหล่านี้ ( เป็น
|
|
46,0050,021,อุทาหรณ์ ) :-
|
|
|