|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
46,0046,001,[ ธรรมเทศนาชื่อว่าพรหมจรรย์ ]
|
|
46,0046,002,ก็ธรรมเทศนา ชื่อว่า พรหมจรรย์ ใน ๒ บาทคาถานี้ว่า
|
|
46,0046,003,"<B>"" ชนตั้งพัน ละมัจจุได้ ในเพราะพรหมจรรย์"
|
|
46,0046,004,"อันเดียวกัน.""</B>"
|
|
46,0046,005,"ฎีกามหาสีหนาทสูตรว่า "" บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า <B>พฺรหฺม"
|
|
46,0046,006,จริยสฺมึ</B> ได้แก่ ในเพราะธรรมเทศนา. จริงอยู่ ธรรมเทศนานั้น
|
|
46,0046,007,เรียกว่า พรหมจรรย์ เพราะเป็นจริยา ชื่อว่าประเสริฐ คือล้ำเลิศ
|
|
46,0046,008,"เพราะนำความเป็นผู้ประเสริฐมาแก่เวไนยสัตว์ทั้งหลาย, อีกอย่างหนึ่ง"
|
|
46,0046,009,เป็นจริยาอันเป็นไปทางวาจาแห่งพรหมคือพระผู้มีพระภาค. บาทคาถา
|
|
46,0046,010,ว่า <B>สหสฺสํ มจฺจุหายิโน</B> ความว่า ชนประมาณพันหนึ่ง เป็นผู้ชื่อว่า
|
|
46,0046,011,"ละมัจจุได้ เพราะล่วงวิสัยของมัจจุ เหตุบรรลุพระอรหัต."""
|
|
46,0046,012,[ อัชฌาสัยชื่อว่าพรหมจรรย์ ]
|
|
46,0046,013,[๕๑๑] อัชฌาสัยชื่อว่าพรหมจรรย์ ในคาถานี้ว่า
|
|
46,0046,014,"<B>""เออก็ ความหวังผล ย่อมสำเร็จแก่ผู้ไม่รีบ"
|
|
46,0046,015,ร้อนโดยแท้; เรามีพรหมจรรย์สำเร็จแล้ว
|
|
46,0046,016,"คามณิ ท่านจงรู้อย่างนี้.""</B>"
|
|
46,0046,017,"ฎีกามหาสีหนาทสูตรว่า "" บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า <B>อตร"
|
|
46,0046,018,มานานํ</B> ความว่า ไม่รีบร้อนอยู่ คือคอยดูกาลแห่งเทศนา. บาทคาถาว่า
|
|
46,0046,019,<B>ผลาสาว สมิชฺฌติ</B> ความว่า ความหวังแม้มีผลที่ได้แสนยาก อาศัยความ
|
|
46,0046,020,พยายามชอบ ย่อมสำเร็จได้แท้. บาทคาถาว่า <B>วิปกฺกพฺรหฺมจริโยสฺมิ</B>
|
|
46,0046,021,ความว่า มีอัธยาศัยประณีตอันสำเร็จแล้วโดยพิเศษ คือมีมโนรถอัน
|
|
|