|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
46,0025,001,<B>กตฺตพฺพํ โหติ</B> ความว่า การงานมีการจัดแจงจีวรเป็นต้น เป็นกิจ
|
|
46,0025,002,อันภิกษุควรทำ. ข้อว่า <B>น วิริยํ อารภติ</B> คือ ไม่ปรารภความเพียร
|
|
46,0025,003,ทั้ง ๒ อย่าง. บทว่า <B>อปฺปตฺตสฺส</B> ได้แก่ เพื่อถึงธรรม คือ ฌาน
|
|
46,0025,004,วิปัสสนามรรคและผล ที่ตนยังไม่ถึง. บทว่า <B>อนธิคตสฺส</B> คือ เพื่อ
|
|
46,0025,005,ประโยชน์บรรลุธรรมคือฌานวิปัสสนามรรคและผลนั้นนั่นแล อันตนยัง
|
|
46,0025,006,ไม่ได้บรรลุ. บทว่า <B>อสจฺฉิกตสฺส</B> คือ เพื่อต้องการทำให้แจ้งซึ่งธรรม
|
|
46,0025,007,นั่นแล อันตนยังไม่ได้ทำให้แจ้ง. สองบทว่า <B>อิทํ ปมํ</B> ความว่า
|
|
46,0025,008,"นี้คือความท้อแท้เพราะคิดอย่างนี้ว่า "" อย่ากระนั้นเลย เราจะนอนละ"""
|
|
46,0025,009,เป็นเหตุของผู้เกียจคร้านข้อที่ ๑. ในบททั้งหมด ก็พึงทราบเนื้อความ
|
|
46,0025,010,โดยนัยนี้. ก็ในคำว่า <B>มาสาจิตํ มฺเ</B> นี้ ถั่วราชมาสที่ชุ่มน้ำ ชื่อว่า
|
|
46,0025,011,มาสาจิตะ. อธิบายว่า กายหนักเหมือนถั่วราชมาสที่ชุ่มน้ำเป็นของ
|
|
46,0025,012,หนักฉะนั้น. ข้อว่า <B>คิลานา วุฏฺิโต โหติ</B> คือ เป็นผู้เป็นไข้หาย
|
|
46,0025,013,แล้วในภายหลัง. เหตุแห่งความเพียร ชื่อว่า อารัพภวัตถุ. เนื้อความ
|
|
46,0025,014,"แม้แห่งปรารภความเพียรเหล่านั้น ก็พึงทราบโดยนัยนี้นี้แล."""
|
|
46,0025,015,"[๔๘๖] ฎีกาสูตรทั้ง ๒ นั้นว่า "" บุคคลชื่อว่า กสีตะ เพราะ"
|
|
46,0025,016,จมลงสู่อาการอันบัณฑิตเกลียด เพราะแปลง <B>ท</B> อักษร เบน <B>ต</B> อักษร.
|
|
46,0025,017,"พระผู้มีพระภาค ตรัสเรียกบุคคลว่า กุสีตะ ด้วยอำนาจแห่งธรรมใด,"
|
|
46,0025,018,ธรรมนั้น คือภาวะของผู้เกียจคร้าน พระองค์ตรัส ด้วยกุสีตศัพท์ใน
|
|
46,0025,019,พระสูตร ( ในบทว่า <B>กุสีตวตฺถุ</B> ) นี้. ความจริง อรรถแห่งภาวะ
|
|
46,0025,020,แม้จะเว้นศัพท์อันเป็นเครื่องส่องถึงภาวะ บัณฑิตก็ย่อมรู้ได้ เหมือน
|
|
46,0025,021,อุทาหรณ์ว่า <B>ปฏสฺส สุกฺกํ</B> ( ความที่ผ้าเป็นของขาว ) ฉะนั้น. เพราะ
|
|
|