|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
42,0014,001,สหชาตนามกาย ทำนิพพานที่ตนกำลังทำให้แจ้งนั้นนั่นแล ให้แจ่ม
|
|
42,0014,002,แจ้ง คือให้ปรากฏ ชื่อว่าเห็นอยู่ คือทำให้ประจักษ์อยู่ด้วยสัจฉิ-
|
|
42,0014,003,กิริยาภิสมัยนั้นนั่นแล.
|
|
42,0014,004,[๑๒๕] ความเป็นผู้ฉลาดของเหล่าคฤหัสถ์ ซึ่งเกิดขึ้นเพราะ
|
|
42,0014,005,ฟังหรือเรียนศิลปะภายนอก ชื่อว่าพาหุสัจจะของคฤหัสถ์. แม้ใน
|
|
42,0014,006,"พาหุสัจจะของคฤหัสถ์นั้น พาหุสัจจะใดไม่มีโทษ, พาหุสัจจะนั้นก็จัด"
|
|
42,0014,007,เป็นมงคล เพราะเป็นเหตุนำมาซึ่งประโยชน์สุขในโลกทั้ง ๒. ในข้อนั้น
|
|
42,0014,008,มีเรื่องดังต่อไปนี้ (เป็นอุทาหรณ์) :-
|
|
42,0014,009,[เรื่องเสนกบัณฑิต]
|
|
42,0014,010,"ในอดีตกาล พระโพธิสัตว์เป็นพราหมณ์นามว่า ""เสนก"" ใน"
|
|
42,0014,011,กรุงพาราณสี เรียนสรรพศิลปะในกรุงตักกสิลาสำเร็จแล้ว กลับมา
|
|
42,0014,012,ยังกรุงพาราณสี. ในกาลนั้น พระเจ้ากรุงพาราณสีทรงพระนามว่า
|
|
42,0014,013,"""ชนก"" ได้พระราชทานตำแหน่งอมาตย์ พร้อมด้วยยศใหญ่แก่"
|
|
42,0014,014,พระโพธิสัตว์. พระโพธสัตว์นั้นเป็นอมาตย์ผู้อนุศาสน์อรรถธรรมของ
|
|
42,0014,015,พระราชา ในวันแห่งปักษ์ทั้งหลาย นั่นแสดงธรรมด้วยพุทธลีลาบน
|
|
42,0014,016,ธรรมาสน์ที่ตกแต่งในธรรมสภา อันพระราชาเป็นต้นจัดเตรียมไว้.
|
|
42,0014,017,ครั้งนั้น พราหมณ์แก่คนหนึ่ง เที่ยวขอทรัพย์ได้มาพนกหาปณะ จึง
|
|
42,0014,018,ฝากไว้ในสกุลพราหมณ์สกุลหนึ่ง แล้วไปขออีก. พราหมณ์สกุลนั้น
|
|
42,0014,019,ใช้กหาปณะเสียแล้ว เมือพราหมณ์แก่นั้นกลับมา. ไม่อาจจะคืนให้
|
|
42,0014,020,จึงได้ให้ธิดาของตนทำให้เป็นบาทบริจาริกาแก่พราหมณ์นั้น. แกพา
|
|
42,0014,021,นางไปอยู่ในพราหมณ์คาม ใกล้กรุงพาราณสี. ฝ่ายพราหมณีนั้น
|
|
|