|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
42,0013,001,กิเลสทั้งหลาย เห็นพระนิพพานนั่นแลแจ่มแจ้ง คือชัดเจนด้วย
|
|
42,0013,002,"ปัญญา."" "
|
|
42,0013,003,"ฎีกาแห่งจังกีสูตรนั้น ว่า ""บทว่า <B>ปยิรุปาสติ</B> คือเข้าไปนั่ง"
|
|
42,0013,004,ด้วยอำนาจการอุปัฏฐาน. พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า ' บทว่า <B>โสตํ</B>
|
|
42,0013,005,ได้แก่โสตประสาท' ด้วยประสงค์ว่า 'ก็โสตประสาทนั้น อันบุคคลควร
|
|
42,0013,006,เงี่ยเพื่อสดับ.' บทว่า <B>ธาเรติ</B> คือทรงจำไว้ด้วยหทัย ได้แก่เก็บธรรม
|
|
42,0013,007,นั้นไว้ในหทัยนั้น. บทว่า <B>อตฺถโต</B> คือโดยใจความของธรรมตามที่
|
|
42,0013,008,ทรงไว้แล้ว. บทว่า <B>การณโต</B> คือโดยยุกติ ได้แก่โดยเหตุอุทาหรณ์
|
|
42,0013,009,โดยสมควร. บทว่า <B>โอโลกนํ</B> ความว่า ธรรมทั้งหลายย่อมทน
|
|
42,0013,010,คือธารได้ซึ่งความเป็นสภาพ อันจะพึงเห็นได้ด้วยปัญญาจักษุตาม
|
|
42,0013,011,"สภาพว่า ""ข้อนี้ เป็นอย่างนี้."" ความทนได้นั้น ก็คือกิริยาที่"
|
|
42,0013,012,เนื้อความปรากฏในจิต เพราะบรรลุ ดุจแววหางแห่งปลากราย
|
|
42,0013,013,"เพราะฉะนั้น พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า ""<B>อิธ</B>"" ดังนี้เป็นต้น."
|
|
42,0013,014,ความพอใจในกุศล กล่าวคือความเป็นผู้ใคร่จะทำ ชื่อว่ากัตตุกัมยตา-
|
|
42,0013,015,ฉันทะ. บทว่า <B>วามติ</B> ความว่า ย่อมทำความพยายาม คือความ
|
|
42,0013,016,บากบั่นด้วยสามารถยังวิสุทธิ ๔ ข้างต้นให้ถึงพร้อม. บทว่า <B>มคฺคปฺปธานํ</B>
|
|
42,0013,017,ความว่า ย่อมเริ่มตั้งความเพียรชอบ ๔ ประการอันนำมาซึ่งมรรค
|
|
42,0013,018,คือนับเนื่องในมรรค ได้แก่ยังความเพียรชอบ ๔ ประการนั้นให้
|
|
42,0013,019,บริบูรณ์ ด้วยอำนาจการตั้งความเพียร. บทว่า <B>ปรมตฺถสจฺจํ</B>
|
|
42,0013,020,ความว่า สัจจะชื่อว่าปรมัตถ์ เพราะเป็นธรรมไม่เปล่า. บทว่า
|
|
42,0013,021,<B>สหชาตนามกาเยน</B> ความว่า ปัญญาที่ยังนิพพานให้ถึงพร้อมได้ด้วย
|
|
|