buddhist-theology / 42 /420005.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
42,0005,001,[นวังคสัตถุศาสน์]
42,0005,002,"""ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๔ จำพวกเหล่านี้ มีปรากฏอยู่ในโลก. "
42,0005,003,บุคคล ๔ จำพวกเป็นไฉน ? คือ บุคคลมีสุตะน้อย (ทั้ง) ไม่เข้าถึง
42,0005,004,"โดยสุตะ, บุคคลมีสุตะน้อย (แต่) เข้าถึงโดยสุตะ, บุคคลมีสุตะ"
42,0005,005,"มาก (แต่) ไม่เข้าถึงโดยสุตะ, บุคคลมีสุตะมาก (ทั้ง) เข้าถึง"
42,0005,006,โดยสุตะ. ภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลเป็นผู้มีสุตะน้อย (ทั้ง) ไม่เข้า
42,0005,007,ถึงโดยสุตะ เป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย สุตะ คือ สุตตะ<SUP>๑</SUP>
42,0005,008,เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทานะ อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ
42,0005,009,"เวทัลละ ของบุคคลบางคนในศาสนานี้ มีน้อย, เขาหาเป็นผู้รู้ทั่วถึง"
42,0005,010,อรรถ รู้ทั่วถึงธรรม แห่งสุตะอันน้อยนั่นแล้ว ปฏิบัติธรรมสมควร
42,0005,011,"แก่ธรรมไม่, อย่างนี้แล ภิกษุทั้งหลาย บุคคลเป็นผู้มีสุตะน้อย"
42,0005,012,(ทั้ง) ไม่เข้าถึงโดสุตะ. ภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลเป็นผู้มีสุตะน้อย
42,0005,013,(แต่) เข้าถึงโดยสุถตะ เป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย สุตะ คือ
42,0005,014,"สุตตะ เคยยะ ฯลฯ เวทัลละ ของบุคคลบางคนในศาสนานี้ มีน้อย,"
42,0005,015,
42,0005,016,๑. สุตตะ ได้แก่ระเบียบคำที่แสดงเนื้อความได้เรื่องหนึ่ง ๆ. เคยยะ ได้แก่ระเบียบคำที่
42,0005,017,มีจุณณิยบทบ้างคาถาบ้างปนกัน. เวยยากรณะ ได้แก่ระเบียบคำที่มีจุณณิยบทล้วน ไม่
42,0005,018,มีคาถาปน. คาถา ได้แก่ระเบียบคำที่ผูกประพันธ์เป็นคาถา ต่างโดยฉันทลักษณะและ
42,0005,019,พฤติลักษณะ. อุทานะ ได้แก่ระเบียบคำที่พระพุทธเจ้าเป็นต้น ทรงเปล่งด้วยโสมนัส.
42,0005,020,อิติวุตตกะ ได้แก่ระเบียบคำที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นร้อยแก้วในเบื้องต้นแล้ว ตรัสยา
42,0005,021,ข้อความนั้น (คำนิคม) ในภายหลัง. ชาตกะ ได้แก่ระเบียบคำที่พระพุทธเจ้าตรัสแสดง
42,0005,022,บุรพจารีตเป็นที่มาแล้วในอดีต. อัพภูตธัมมะ ได้แก่ระเบียบคำที่แสดงความอัศจรรย์.
42,0005,023,เวทัลละ ได้แก่ระเบียบคำที่ผู้ถามได้ความรู้แจ้ง และมีความยินดีถามต่อ ๆ ขึ้นไป
42,0005,024,รวมสุตะ ๙ นี้ เรียกนวังคสัตถุศาสน์.