|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0014,001,นิรมิตอัตภาพอันละเอียด ๑๐ บ้าง ๒๐ บ้าง ๓๐ บ้าง ๔๐ บ้าง
|
|
41,0014,002,๕๐ บ้าง ๖๐ บ้าง ๗๐ บ้าง ๘๐ บ้าง มีประมาณเท่าโอกาสแห่งที่สุด
|
|
41,0014,003,ปลายขนทรายเส้นหนึ่ง ยืนแวดล้อมพระผู้มีพระภาค ผู้เปล่งปลั่งล่วง
|
|
41,0014,004,เทวดาและพรหมเหล่านั้นทั้งหมด ประทับนั่งบนบวรพุทธอาสน์ทีปูลาด
|
|
41,0014,005,ไว้แล้ว เพราะต่างมุ่งจะฟังมงคลปัญหา ทราบความปริวิตกแห่งใจของ
|
|
41,0014,006,พวกมนุษย์ชาวชมพูทวีปทั้งสิ้น แม้มิได้มาในสมัยนั้น ด้วยใจเพื่อจะ
|
|
41,0014,007,ถอนลูกศรคือความสงสัยของเทวดาและมนุษย์ทุกจำพวก จึงทูลถาม
|
|
41,0014,008,"พระผู้มีพระภาค. ด้วยเหตุนั้น ท่านอานนทเถระจึงกล่าวว่า <B>""เอกมนฺตํ"
|
|
41,0014,009,"ิตา โข สา"" </B> เป็นต้น."
|
|
41,0014,010,[ฉันทลักษณะ]
|
|
41,0014,011,[๑๑] วินิจฉัยในคำว่า <B>เอกมนฺตํ ิตา โข สา</B> เป็นต้นนั้น ใน
|
|
41,0014,012,อรรถกถา<SUP>๑</SUP>ท่านแก้ว่า บทว่า คาถาย ความว่า ด้วยคำพูดที่กล่าวนิยม
|
|
41,0014,013,อักขรบท.
|
|
41,0014,014,ในคำว่า <B>อกฺขรปทํ</B> นั้น ความว่า อักษรในบทกล่าวคือบาท
|
|
41,0014,015,ชื่อว่าอักขรบท ดังนี้ จึงจะถูก. จริงอย่างนั้น ในปกรณ์ฉันทวุตติปทีป<SUP>๒</SUP>
|
|
41,0014,016,ท่านกล่าวไว้ว่า
|
|
41,0014,017,"<B>""การนิยม แม้อักษรในบาทหนึ่ง ชื่อว่าฉันทลักษณะ,"
|
|
41,0014,018,"ส่วนการนิยมครุและลหุใน ๔ บาท ชื่อว่าพฤทธิลักษณะ.""</B>"
|
|
41,0014,019,"อีกนัยหนึ่ง (ในคำว่าอักขรบท) ความว่า "" บทคืออักขระชื่อว่า"
|
|
41,0014,020,
|
|
41,0014,021,๑. ปรมัตถโชติกา ขุททกปาฐวัณณนา ๑๓๖. แต่ในอรรถกถานี้ว่า ภควนตํ คาถาย อชฺฌภาสีติ
|
|
41,0014,022,ภควนฺตํ อกฺขรปทนิยมมิตกถิเตน วจเนน อภาสีติ อตฺโถ ๒. นี้เป็นชื่อหนังสือสัททาวิเสส
|
|
41,0014,023,คัมภีร์หนึ่งว่าด้วยพฤทธิและฉันท์ พระญาณมงคลเถระเป็นผู้แต่ง.
|
|
|