buddhist-theology / 13 /130030.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
13,0030,001,อุ. ที่ ๒
13,0030,002,"อ<B>มตํ วุจฺจติ</B> นิพฺพานํ, [ สามาวตี. ๒/๖๘ ] ""นิพพาน เรียกว่า"
13,0030,003,"อมตะ."""
13,0030,004,อุ. ที่ ๓
13,0030,005,"<B>มนฺตา วุจฺจติ </B> ปญฺา. [ โกกาลิก. ๘/๕๙] ""ปัญญา"
13,0030,006,"เรียกว่า มันตา."""
13,0030,007,สัมภาวนะ ลักษณะนี้ โบราณแปลว่า 'ให้ชื่อว่า' ดัง อุ. มนฺตา
13,0030,008,"วุจฺจติ ปญฺา นั้น แปลยกศัพท์ว่า ปญฺา ปัญญา, ภควตา อัน"
13,0030,009,"พระผู้มีพระภาค, มนฺตา ให้ชื่อวา มันตา, วุจฺจติ ย่อมตรัสเรียก."
13,0030,010,[ ๒ ] ที่เรียกชื่อว่า สัมภาวนะ เพราะยกขึ้นว่าดุจสัมภาวนบุพพบท
13,0030,011,"กัมมธารยสมาส, โดยนัยนี้ คำว่า สัมภาวนะ ในที่นี้ จึงมิได้หมาย"
13,0030,012,ความว่า สรรเสริญที่คู่ติเตียน หมายความเพียงยกขึ้นว่าเช่นเดียวกับ
13,0030,013,สัมภาวบุพพท กัมมมธารยสมาสเท่านั้น. อนึ่ง ที่เรียกว่าอาการ
13,0030,014,เพราะแปลว่า ' ว่า ' ดุจ อิติ ศัพท์ที่เป็นอาการ. ในโยชนาใช้ชื่อ
13,0030,015,หลังนี้ เช่น อุ. ตถาคโต เตสํ อคฺคมกฺขานติ นั้น ในโยชนาบอก
13,0030,016,สัมพันธ์ว่า อคฺคํ อาการใน อกฺขายติ.
13,0030,017,"สรูปอธิบาย : สัมภาวนะ เป็นเครื่องยกขึ้นว่า หรือเป็นอาการ,"
13,0030,018,เข้ากับกิริยาว่ารู้ ว่ากล่าว เป็นต้น.
13,0030,019,สรูป
13,0030,020,<B>(๒) เป็นคุณนามก็ดี เป็น</B>นามนามแต่ใช้ดุจคุณนามก็ดี ที่เข้า
13,0030,021,กับอิติศัพท์ เรียกชื่อว่า สรูปํ อุ :-