|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0002,001,อุปมาลิงคัตถะ ในข้อ ลิงคัตถะ
|
|
13,0002,002,"ตุมัตถกัตตา "" สยกัตตา"
|
|
13,0002,003,"สหโยคตติยา-สหาทิโยคตติยา "" สหัตถตติยา"
|
|
13,0002,004,"ตุมัตถสัมปทาน "" สัมปทาน"
|
|
13,0002,005,"ภาวสัมพันธ์-กิริยาสัมพันธ์ "" ภาวาทิสัมพันธ์"
|
|
13,0002,006,"อาธาร-ภินนาธาร "" ท้ายอาธารทั้ง ๕"
|
|
13,0002,007,"วิเสสนลิงควิปัสลาส "" วิเสสนะ (บทคุณนาม)"
|
|
13,0002,008,"อุปมาวิเสสนะ "" "" "" """
|
|
13,0002,009,"สัญญาวิเสสน "" "" "" """
|
|
13,0002,010,"ปกติกัตตา "" วิกติกัตตา บทคุณนาม)"
|
|
13,0002,011,[ ๒ ] ส่วนสัมพันธ์ที่มีอรรถต่างออกไปจากในแบบ จักแสดง
|
|
13,0002,012,"และอธิบายในเล่มนี้ กับทั้งศัพท์พิเศษเป็นต้นที่ควรรู้, ในการแสดง"
|
|
13,0002,013,จักอาศัยระเบียบที่ท่านใช้ในแบบ: ในแบบท่านแสดงบทนามนามก่อน
|
|
13,0002,014,"แล้วจึงบทคุณนาม, บทสัพพนาม, บทกิริยา (ในพากยางค์-ในพากย์)"
|
|
13,0002,015,"และนิบาตตามลำดับ, ในที่นี้ ก็จักอนุวัตระเบียบนั้น. แต่บทนามนาม"
|
|
13,0002,016,ที่จะกล่าวต่อไป ก็ไม่ได้ใช้ฐานะเป็นการก หรือในฐานะเป็นนามนาม
|
|
13,0002,017,แท้ ใช้ดุจคุณนามในอรรถพิเศษอย่างหนึ่งนั่นเอง จึงสงเคราะห์เป็นบท
|
|
13,0002,018,คุณนาม.
|
|
13,0002,019,[ ๓ ] แบบสัมพันธ์ ท่านว่า ควรรู้จักก่อนแต่เรียนสัมพันธ์ จึง
|
|
13,0002,020,ควรจำและทำความเข้าใจให้ทั่วถึง. ก็การเรียนสัมพันธ์นั้น เป็นทาง ๑
|
|
13,0002,021,แห่งการศึกษาวิธีประกอบคำพูดเข้าเป็นพากย์ อันเป็นตัววากยสัมพันธ์
|
|
|