buddhist-theology / 12 /120037.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
12,0037,001,เป็นชื่อของวัตถุ]. <B>ลาภํ ลภติ</B> 'ย่อมได้ซึงลาภ' [ <B>ลาภํ </B>เป็น กัมม-
12,0037,002,สาธนะ เป็นชื่อของปัจจัยวัตถุ]. หรือเป็นภาวสาธนะแต่ไม่ซ้ำธาตุ
12,0037,003,กัน ก็ไม่ชื่อว่า ซ้ำกับกิริยาข้างหลัง ไม่เป็นกิริยาวิเสสนดุจเดียวกัน
12,0037,004,อุ. <B>เฉทนํ อกาสิ</B> 'ได้ทำซึ่งการตัด.' ทั้งนี้ เพราะที่ซ้ำแต่ธาตุ มิใช่
12,0037,005,ภาวสาธนะ ย่อมเป็นชื่อของวัตถุเป็นต้น จึงใช้อรรถอื่น เช่น
12,0037,006,<B>ทานํ</B> ใน อุ. ที่แสดงแล้ว. ส่วนที่เป็นภาวสาธนะ ย่อมบอกกิริยาอาการ
12,0037,007,และกิริยาข้างหลัง ก็แสดงกิริยาเหมือนกัน จึงชื่อว่าซ้ำกันจริง ทั้งธาตุ
12,0037,008,ทั้งความ เป็นกิริยาวิเสสนแท้. สำหรับที่ไม่ซ้ำธาตุกัน ทั้งใช้ใน
12,0037,009,อรรถอื่น ไม่ต้องกล่าวถึง.
12,0037,010,บท ทุติยาวิภัตติที่ซ้ำกับกิริยาข้างหลัง บางบทชวนใช้ใน
12,0037,011,อรรถอื่น อุ. <B>ปุถุชฺชนกาลกิริยํ กตฺวา</B> [ เปสการธีตุ. (๖/๔๒] ชวน
12,0037,012,ให้เอา <B>กิริยํ</B> เป็นอวุตตกัมม แต่ <B>กิริยํ</B> เป็นภาวสาธนะ <B>ปุถุชฺชน-
12,0037,013,กาลกิริยํ</B> จึงเป็นกิริยาวิเสสน [ ทำกาลกิริยาแห่งปุถุชน หรือทำกาล
12,0037,014,แห่งปุถุชน <B>กาลกิริยํ กตฺวา=กาลํ กตฺวา</B> ] . ทั้งนี้ เว้นแต่จะ
12,0037,015,ใช้หมายถึงสภาพอย่างหนึ่ง ดังที่จะกล่าวในต่อไป.<B> จรถ ภิกฺขเว
12,0037,016,จาริกํ </B> [ สญฺชน. ๑/๘๒ ] ' ภิกษุทั้งหลาย ท่าน ท. จงเที่ยวจาริกไป.'
12,0037,017,<B>จาริกํ</B> เป็นกิริยาวิเสสนใน <B>จรถ</B>.
12,0037,018,ศัพท์นามกิตก์ที่ใช้ในอรรถซ้ำกับกิริยาข้างหลังเช่นนี้ ประกอบ
12,0037,019,ด้วย ตติยาวิภัตติก็มี พึงดูในข้อที่ว่าด้วยตติยาวิเสสนใน ตติยาวิภัตติ.
12,0037,020,อนึ่ง พึงทราบว่า แม้บทกิริยาวิเสสนใน อุ. ที่แสดงแล้ว ถ้า
12,0037,021,ในที่อื่นใช้ในอรรถอื่น นอกจากกิริยาอาการดังกล่าวแล้ว ก็มิใช่