|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
12,0017,001,ไป ย่อมไม่ได้ความ อุ. <B>นตฺถิ เต โกจิ อาปุจฺฉิพฺพยุตฺตโก
|
|
12,0017,002,าติ </B> [ จกฺขุปาลตฺเถร . ๑/๖ ] แปลตามลำดับบทว่า ' ไม่มี ท่านไร ๆ
|
|
12,0017,003,ผู้ควรอำลา ญาติ' แปลอย่างนี้ไม่ได้ความ. เมื่อเป็นเช่นนี้ จำต้อง
|
|
12,0017,004,อาศัยสัมพันธ์ คือให้รู้ว่าบทไหนเข้ากับบทไหน โดยเนื่องกันอย่างไร
|
|
12,0017,005,เช่นในพากย์นี้ จำต้องรู้สัมพันธ์ว่า <B>าติ</B> เป็น กัตตา ใน <B>นตฺถิ ๆ</B>
|
|
12,0017,006,เป็นกิริยาของ <B>าติ. เต</B> เนื่องด้วยเป็นเจ้าของใน<B> าติ โกจ</B>ิ และ
|
|
12,0017,007,<B>อาปุจฺฉิตพฺพยุตฺตโก</B> เป็นวิเสสนะของ <B>าติ</B>. เมื่อรู้เช่นนี้แล้ว จึงจะ
|
|
12,0017,008,เข้าใจความและแปลได้ถูกว่า ญาติไร ๆ ผู้ควรอำลาของท่านไม่มีหรือ'
|
|
12,0017,009,ดังนี้ การรู้สัมพันธ์มีประโยชน์ในการแปลงหนังสืออย่างนี้.
|
|
12,0017,010,แต่บางประโยค เรียงคำพูดเหมือนตามลำดับคำที่ ๑-๒ ดัง
|
|
12,0017,011,ภาษาไทย อุ. <B>กนิฏฺภาตา เม อตฺถิ ภนฺเต</B> [ จกฺขุปาลตฺเถร.
|
|
12,0017,012,๑/๖ ] แปลว่า 'นับชายของข้าพระองค์มีอยู่พระเจ้าข้า' นี้หาได้
|
|
12,0017,013,เรียงตามวิธีภาษาไทยไม่ แต่เรียงตามวิธีภาษาบาลีดังกล่าวมาแล้ว
|
|
12,0017,014,นั้นเอง แต่บังเอิญไปคล้ายกับวิธีเรียงในภาษาไทยเข้าเท่านั้น.
|
|
12,0017,015,สัมพันธ์
|
|
12,0017,016,[ ๓ ] ความเนื่องกันแห่งบทหนึ่งกับอีกบทหนึ่ง หรือความเข้า
|
|
12,0017,017,กันแห่งบทหนึ่งกับอีกบทหนึ่ง เรียกว่าสัมพันธ์ การเรียนกำหนดพากย์
|
|
12,0017,018,ที่เรียงไว้แล้ว เช่น ใน ธัมมปทัฏฐกถา เป็นต้น ให้รู้ว่าบทไหน
|
|
12,0017,019,เนื่องหรือเข้ากับบทไหน เรียกว่าเรียนสัมพันธ์.
|
|
12,0017,020,การเรียนสัมพันธ์นั้น เมื่อกล่าวถึงหัวข้อใหญ่ ๆ ที่พึงเรียน
|
|
12,0017,021,"ก็มีดังนี้ คือ อรรถ, ชื่อสัมพันธ์, การเข้าสัมพันธ์, วิธีสัมพันธ์."
|
|
|