|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
12,0015,001,เมื่อทรงแสดง คาถาสัตว์นรกนั้นกล่าวทำให้ไม่บริบูรณ์แล้ว ทำให้
|
|
12,0015,002,บริบูรณ์ จึงตรัสอย่างนี้.
|
|
12,0015,003,กิริยาพากยางค์ <B>สตฺถา เตน อปริปุณฺณํ กตฺวา
|
|
12,0015,004,วุตฺตคาถํ ปริปุณฺณํ กตฺวา
|
|
12,0015,005,"ทสฺเสนฺโต,</B>"
|
|
12,0015,006,กิริยาพากยางค์ชั้นใน <B>เตน อปริปุณฺณํ กตฺวา วุตฺต-</B>
|
|
12,0015,007,พากย์ <B>เอวมาห.</B>
|
|
12,0015,008,ข้อสังเกต ก. พากย์ที่ ๑ ไม่แยก <B>นิสฺสาย</B> เป็นกิริยาพาก-
|
|
12,0015,009,ยางค์ ๑ ก่อน แต่เอารวมเป็นกิริยาพากยางค์เดียวถึง <B>วิหรนฺโต</B>
|
|
12,0015,010,เพราะ <B>นิสฺสาย</B> เป็นสมานกาลกิริยาใน <B>วิหรนฺโต</B> คือทำพร้อม
|
|
12,0015,011,กันกับ <B>วิหรนฺโต </B>เมื่อทำพร้อมกันเช่นนี้ จึงแยกออกจามกันมิได้.
|
|
12,0015,012,ข. พากย์ที่ ๒ <B>กิร</B> เป็นนิบาตต้นข้อความ จึงเอาไว้ในพากยางค์
|
|
12,0015,013,ที่ ๑. และไม่แยก <B>สตฺถารํ คเหตฺวา</B> เป็นอีกพากยางค์หนึ่ง เพราะ
|
|
12,0015,014,ถือเอา <B>คเหตุวา</B> เป็นสมานกาลกิริยาใน <B>อคมาสิ</B>.
|
|
12,0015,015,<B>ค</B>. พากย์ที่ ๓ <B>กตฺวา</B> ทั้ง ๒ เป็นกิริยาวิเสสนะ คือ <B>กตฺวา</B>
|
|
12,0015,016,ที่ ๑ กิริยาวิเสสนะใน <B>วุตฺต-. กตฺวา</B> ที่ ๒ กิริยาวิเสสนะใน <B>ทสฺสเสนฺโต</B>
|
|
12,0015,017,ไม่แสดงกิริยาอีกส่วนหนึ่ง เพราะฉะนั้น จึงรวมเป็นพากยางค์เดียว
|
|
12,0015,018,กับ <B>ทสฺเสนฺโต</B>. อนึ่งกิริยาพากยางค์นี้ กิริยาพากยางค์ในอีกชั้น
|
|
12,0015,019,หนึ่ง แต่ไม่แยกออกเป็นพากยางค์วงนอกอีกส่วนหนึ่ง เพราะ วุตฺต
|
|
12,0015,020,เข้าสมาสกับ <B>คาถํ</B> ๆเข้ากับ <B>ทสฺสเสนฺโต</B> ซึ่งเป็นกิริยาขยายประธาน
|
|
12,0015,021,จึงรวมเป็นพากยางค์เดียวกับ <B>ทสฺเสนฺโต</B>
|
|
|