buddhist-theology / 12 /120006.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
12,0006,001,เพราะฉะนั้น ทั้ง ๒ ประเภทนี้ จึงไม่ใช้ในการผูกประโยคคำพูด เว้น
12,0006,002,แต่บางแห่ง ที่ต้องการแสดงศัพท์ทางไวยากรณ์. ส่วนนิบาตใช้ใน
12,0006,003,ประโยคทั้งปวงแท้.
12,0006,004,อนึ่ง บทกิริยาอาขยาต เมื่อถอดวิภัตติปัจจัยออก เหลือแต่
12,0006,005,ศัพท์ที่เป็นมูลราก เรียกว่า ธาตุ ไม่เรียกว่า ศัพท์ ธาตุล้วน ๆ ก็ไม่
12,0006,006,ใช้ในประโยคทั้งปวง.
12,0006,007,คำว่า ศัพท์ ใช้ในที่ ๒ สถาน คือในที่ทั่วไป ๑ ในวากย-
12,0006,008,สัมพันธ์ ๑. ในที่ทั่วไป หมายถึงคำพูดทุกอย่างที่แบ่งไว้ในวจีวิภาค
12,0006,009,เหตุที่คำนั้น ๆ ปรากฏ เพราะเสียงพูด หรือเป็นเสียงพูด [ ศัพท์=
12,0006,010,สทฺท = เสียง ] คำหนึ่ง ๆ จึงเป็นศัพท์หนึ่ง ๆ . แต่ในวายกสัมพันธ์ ศัพท์
12,0006,011,หมายเฉพาะนิบาตเป็นต้นตามที่กล่าวแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้ต่างจากบท.
12,0006,012,ในที่นี้ท่านมิได้กล่าวถึงศัพท์ เพราะศัพท์ไม่เป็นองค์ประกอบ
12,0006,013,จำเป็นในการผูกประโยคคำพูด เช่น นิบาต ถึงขาดเสีย ก็ไม่ทำให้
12,0006,014,เสียพากย์. ส่วนบทถ้าขาด ก็ทำให้เสียพากย์หรือไม่สำเร็จเป็นพากย์ได้.
12,0006,015,ประมวลบทแห่งออกโดยย่อเป็น ๒ คือ <B>บทนาม ๑ บท
12,0006,016,กิริยา ๑.</B> ส่วน <B>นิบาตเรียกว่าศัพท์</B> และใช้ได้ตามลำพัง อย่างบท
12,0006,017,ในประโยคทั้งปวง.
12,0006,018,พากยางค์
12,0006,019,<B>๒. หลายบทผสมให้เป็นใจความได้ แต่ยังเป็นตอน ๆ
12,0006,020,ไม่เต็มที่ เรียกว่า พากยางค์ มี ๓ อย่างคือ [ นาม ] กุลสฺส</B>