buddhist-theology / 11 /110032.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
11,0032,001,(ชนนั้น) ชื่อว่า <B>สุภาสิตภาสี </B>(ผู้มีการกล่าวซึ่งคำอันเป็นสุภาษิต
11,0032,002,เป็นปกติ).
11,0032,003,ข. ต้นธาตุมีพยัญชนะสังโยค เช่น <B>วาจานุรกฺขี</B> วาจา (วาจา)
11,0032,004,บทหน้า รกฺข ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไว้แต่ ี ตั้ง. วิ. ว่า <B>วาจํ
11,0032,005,อนุรกฺขติ สีเลนา--ติ วาจานุรกฺขี .</B> (ชนใด) ย่อมตนรักษา ซึ่งวาจา
11,0032,006,โดยปกติ เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า <B>วานานุรกฺขี </B>(ผู้ตามรักษา
11,0032,007,ซึ่งวาจาโดยปกติ ). หรือตั้งเป็นสมาสรูปตัสสีลสาธนะว่า <B>วาจํ
11,0032,008,อนุรกฺขิตุํ สีลมสฺสา-ติ วาจานุรกฺขี </B> การตามรักษา ซึ่งวาจา เป็น
11,0032,009,ปกติ ของชนนั้น เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า <B>วาจานุรกฺขี</B> (ผู้มีการ
11,0032,010,ตามรักษาซึ่งวาจาเป็นปกติ.)
11,0032,011,๓. <B>มีอำนาจให้แปลงตัวธาตุ หรือพยัญชนะที่สุดธาตุได้</B>
11,0032,012,หมายความว่า เมื่อธาตุเดิมเป็นเช่นไร ไม่คงไว้ตามรูปเดิม แต่
11,0032,013,แปลงให้ผิดจากรูปแห่งธาตุเดิมไปเสีย เช่น <B>ภยทสฺสี</B> (ผู้เห็นซึ่งภัย
11,0032,014,โดยปกติ) เดิมเป็น ภย (ภัย) บทหน้า ทิสฺ ธาตุ แปลง ทิสฺ เป็น
11,0032,015,"ทสฺส, <B>ปาณฆาตี</B> (ผู้ฆ่าซึ่งสัตว์โดยปกติ) เดิมเป็น ปาณ (สัตว์)"
11,0032,016,บทหน้า หนฺ ธาตุ แปลง หนฺ เป็น ฆาตฺ แต่การแปลธาตุเช่นนี้
11,0032,017,แม้ในอาขยาตก็มีอำนาจแปลงได้เช่นเดียวกัน <B>ภยทสฺสี</B> ตั้ง วิ. ว่า
11,0032,018,<B>ภยํ ทิสฺสติ สีเลนา-ติ ภยทสฺสี.</B> (ชนใด) ย่อมเห็น ซึ่งภัย โดยปกติ
11,0032,019,เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า <B>ภยทสฺสี </B>(ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ).
11,0032,020,<B>ปาณฆาตี</B> ตั้ง วิ. ว่า <B>ปาณํ หนติ สีเลนา-ติ ปาณฆาตี.</B>