|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0011,001,ทำกำกับอยู่ด้วย เวลาแปลจะขาดเสียมิได้ เช่น <B>กุมฺภกาโร</B> เวลาแยก
|
|
11,0011,002,ตั้งวิเคราะห์ก็จะต้องตั้งว่า <B> กุมฺภํ กโรตี-ติ กุมฺภกาโร </B> แปลว่า (โย
|
|
11,0011,003,ชโน ชนใด) ย่อมทำ ซึ่งหม้อ เหตุนั้น (โส ชโน ชนนั้น ) ชื่อว่า
|
|
11,0011,004,<B>กุมฺภกาโร</B> (ผู้ทำซึ่งหม้อ). สำหรับกัตตุสาธนะเวลาตั้งวิเคราะห์ กิริยา
|
|
11,0011,005,"จะต้องเป็นกัตตุวาจกเสมอ, วิธีแปลกัตตุสาธนะ ท่านให้แปลได้ ๒ นัย"
|
|
11,0011,006,"คือ <B>""ผู้-"" </B> ถ้าลงในอรรถคือตัสสีละ แปลว่า <B>""ผู้...โดยปกติ""</B>"
|
|
11,0011,007,"คำว่า <B>""ตัสสีละ ""</B> ในที่นี้ หมายความว่า สิ่งที่บุคคลทำเป็นปกติ"
|
|
11,0011,008,คือบุคคลทำสิ่งใดเป็นปกติ สาธนะนี้กล่าวถึงการทำที่เป็นปกติของ
|
|
11,0011,009,บุคคลนั้นด้วย เช่น อุ. ว่า <B>ธมฺมจารี</B> (ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ)
|
|
11,0011,010,"เวลาตั้งวิเคราะห์จะต้องเติมคำว่า <B>""สีเลน""</B> เข้ามาด้วยว่า <B>ธมฺมํ จรติ"
|
|
11,0011,011,สีเลนา-ติ ธมฺมจารี </B>แปลว่า (โย ชโน ชนใด) ย่อมประพฤติ
|
|
11,0011,012,ซึ่งธรรม <B>โดยปกติ</B> เหตุนั้น (โส ชโน ชนนั้น ) ชื่อว่า <B>ธมฺมจารี</B>
|
|
11,0011,013,(ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ).
|
|
11,0011,014,อีกอย่างหนึ่ง ในสาธนะนี้ท่านเพิ่ม <B>สมาสรูป ตัสสีลสาธนะ</B>
|
|
11,0011,015,เข้ามาอีก ที่เรียกเช่นนั้น ก็เพราะสาธนะนี้กล่าวถึงความทำเป็นปกติ
|
|
11,0011,016,ของบุคคล เวลาตั้งวิเคราะห์มีรูปวิเคราะห์คล้ายสมาส เวลาแปลท่าน
|
|
11,0011,017,"ให้แปลว่า <B>""ผู้มี-""</B> เช่น อุ. <B>ธมฺมจารี</B> นั้น ถ้าตั้งวิเคราะห์เป็น สมาสรูป"
|
|
11,0011,018,ตัสสีลสาธนะ ก็ต้องตั้งว่า <B>ธมฺมํ จริตุํ สีลมสฺสา-ติ</B> [ สีลํ+อสฺส+อิติ]
|
|
11,0011,019,<B>ธมฺมจารี</B>. การประพฤติ ซึ่งธรรม เป็นปกติ ของชนนั้น เหตุนั้น
|
|
11,0011,020,(ชนนั้น) ชื่อว่า <B>ธมฺมาจารี </B>(ผู้มีการประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ) กิริยา
|
|
11,0011,021,ในรูปนี้ ต้องประกอบด้วย ตุํ ปัจจัยเสมอ.
|
|
|