buddhist-theology / 11 /110008.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
11,0008,001,"อาขยาตก็ได้ กิตก์ก็ได้ เช่น ภุญฺช, กรฺ ธาตุ ถ้าเป็นอาขยาตก็เป็น"
11,0008,002,"<B>ภุญฺชติ, กโรติ.</B> เป็นนามกิตก์ก็เป็น <B> โภชนํ, โภชโก, กรณํ, การโก,</B>"
11,0008,003,"เป็นกิริยากิตก์เป็น <B>ภุญฺชนฺโต, ภุญฺชิตฺวา, ภุตฺโต, กโรนฺโต, กตฺวา,"
11,0008,004,กโต.</B> เป็นต้น.
11,0008,005,อนึ่ง บางคราวก็ใช้นามศัพท์มาปรุงเป็นกิริยากิตก์ก็ได้เช่นเดียว
11,0008,006,กับอาขยาต เช่น :-
11,0008,007,อาขยาต กิริยากิตก์
11,0008,008,ศัพท์นามนามว่า ปพฺพ (ภูเขา) <B>ปพฺพตายติ ปพฺพตายนฺโต</B>
11,0008,009,"ศัพท์คุณนามว่า จิร (นาม, ชักช้า) <B>จิรายติ จิรายนฺโต</B>"
11,0008,010,ฉะนั้น จึงรวมความว่า อาขยาต ใช้ธาตุและนามศัพท์เป็นตัวตั้ง
11,0008,011,สำหรับปรุงได้ฉันใด กิตก์ก็ใช้ได้ฉันนั้น แต่ต้องยืมปัจจัยในอาขยาต
11,0008,012,"มาลงด้วยในที่บางแห่ง เช่น อาย, อิย ปัจจัยในอุทาหรณ์นี้เป็นต้น."
11,0008,013,นามกิตก์
11,0008,014,คำว่า <B>นามกิตก์</B> ในที่นี้ ท่านหมายถึงกิตก์ที่ใช้เป็นนาม และ
11,0008,015,คำว่า นาม ก็หมายเฉพาะถึงศัพท์ธาตุที่นำมาประกอบปัจจัยในกิตก์นี้
11,0008,016,เมื่อสำเร็จรูปแล้วใช้ได้ ๒ อย่าง คือ ใช้เป็นนามนาม ๑ คุณนาม ๑
11,0008,017,มิได้หมายถึงศัพท์ที่เป็นนามนามและคุณนามโดยกำเนิด เช่น <B>รุกฺข</B>
11,0008,018,(ต้นไม้) <B>จมู</B> (เสนา) <B>ทกฺข</B> (ขยัน) <B>นีล</B> (เขียว) เป็นต้น. กิตก์ที่
11,0008,019,สำเร็จรูปเป็นนามนาม หมายถึงธาตุคือกิริยาศัพท์ที่เป็นมูลรากซึ่งนำ
11,0008,020,มาประกอบปัจจัยในนามกิตก์แล้ว ใช้ได้ตามลำพังตัวเอง ไม่ต้องหา