buddhist-theology / 10 /100004.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
10,0004,001,นามกิตก์ กิริยากิตก์ กิริยาอาขยาต
10,0004,002,"ยืน €านํ, ติฏฺ€นฺโต ติฏฺ€ามาโน €ิโต, ติฏฺ€ติ."
10,0004,003,"เดิน คมนํ, คจฺฉนฺโต คจฺฉมาโน คโต, คจฺฉติ."
10,0004,004,"คำว่า } นั่ง นิสชฺชา, นิสีทนฺโต นิสีทมาโน นิสินฺโน, นิสีทติ."
10,0004,005,"นอน สยนํ, สยนฺโต สยมาโน สยิตํ, สยติ."
10,0004,006,เหล่านี้ยกมาเป็นตัวอย่าง เพื่อเป็นหลักสังเกต เพราะศัพท์เหล่า
10,0004,007,นี้ อาจจะเปลี่ยนแปลงใช้ได้ต่าง ๆ อีกมาก แล้วแต่เครื่องปรุงของ
10,0004,008,แผนกนั้น ๆ เพราะฉะนั้น หลักสังเกตกิริยาศัพท์ในฝ่ายปรุงของ
10,0004,009,ต้องอาศัยเรียนรู้เครื่องปรุงทั้ง ๘ ของกิริยาอาขยาตโดยละเอียดถี่ถ้วน
10,0004,010,เสียก่อน จึงจะสามารถสังเกตและเข้าใจได้แน่ชัด.
10,0004,011,เครื่องปรุงของอาขยาต
10,0004,012,ศัพท์กิริยาที่เป็นแต่เพียงกล่าวออกมาเลย ๆ โดยังมิได้มีเครื่อง
10,0004,013,ปรุงอย่างใดอย่างหนึ่งเข้าประกอบ เราก็คงยังรู้ไม่ได้เลยว่าเป็นกิริยา
10,0004,014,แผนกไหน ฉะนั้น ศัพท์กิริยาที่จะได้นามว่าอาขยาตก็เช่นกัน ก่อน
10,0004,015,ที่จะสำเร็จรูปเป็นอาขยาตได้ ก็ต้องอาศัยเครื่องปรุงส่วนต่าง ๆ ของ
10,0004,016,อาขยาต ทำหน้าที่ร่วมกันปรับปรุงประกอบให้เป็นรูปขึ้น เหมือนเรือน
10,0004,017,ที่จะสำเร็จเป็นรูปเรือนขึ้นได้ ต้องอาศัยทัพพสัมภาระต่าง ๆ ซึ่งเป็น
10,0004,018,เครื่องสำหรับทำเรือน อันบุคคลนำมาผสมประกอบกันฉะนั้น กล่าว
10,0004,019,อย่างง่ายก็คือ ศัพท์กิริยาฝ่ายอาขยาต ต้องประกอบด้วยเครื่องปรุงของ
10,0004,020,อาขยาต ซึ่งท่านจำแนกไว้เป็น ๘ ประการ คือ วิภัตติ กาล บท