|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
08,0005,001,<B>จุลฺลปาโล</B> นายปาละน้อย <B>กาฬุทายี</B> พระอุทายีดำ <B>โลลุทายี</B> พระ-
|
|
08,0005,002,อุทายีเลอะเป็นต้น ในพากย์ภาษาไทยเช่น นายแดงใหญ่ นายแดงเล็ก
|
|
08,0005,003,หรือนายแดงเก่า นายแดงใหม่เป็นต้น คำที่แสดงลักษณะเหล่านี้
|
|
08,0005,004,ล้วนเป็นเครื่องหมายคุณนามทั้งสิ้น.
|
|
08,0005,005,คุณนามแบ่งเป็น ๓
|
|
08,0005,006,ตามธรรมดาสิ่งทั้งปวง ย่อมมีคุณลักษณะประจำอยู่ทุกชนิด
|
|
08,0005,007,ดังกล่าวแล้ว แม้จะมีเหมือนกันก็จริง แต่ก็ไม่เสมอกันทั้งหมด ย่อมมียิ่ง
|
|
08,0005,008,และหย่อนกว่ากัน ตัวอย่าง พระ ก. ฉลาด พระ ข. ฉลาด พระ ค.
|
|
08,0005,009,ก็ฉลาด เพียงเท่านี้แสดงว่าเป็นพวกฉลาดด้วยกัน แต่ก็ยังยิ่งและหย่อน
|
|
08,0005,010,สมมติว่า พระ ก. เป็นผู้ฉลาด แต่พระ ข. ยังเฉียบแหลมยิ่งไปกว่านั้น
|
|
08,0005,011,ต้องจัดให้พระ ข. เป็นผู้ฉลาดกว่าพระ ก. ส่วนพระ ค เป็นผู้ฉลาดไม่
|
|
08,0005,012,มีตัวจับ คือหาผู้เปรียบเสมอมิได้ เป็นยอดเยี่ยมกว่าทุก ๆ คน เช่นนี้
|
|
08,0005,013,พระ ค. ต้องนับว่าฉลาดกว่าพระ ก. และพระ ข. จัดเป็นฉลาดที่สุด
|
|
08,0005,014,แม้สิ่งของที่ไร้วิญญาณก็เหมือนกัน ย่อมมีลักษณะแตกต่างกันเป็นชั้น
|
|
08,0005,015,สามัญชั้นกลางและดีเยี่ยม โดยอนุมานนี้จึงแบ่งคุณนามออกเป็น ๓ ชั้น
|
|
08,0005,016,คือ ปกติ ๑ วิเสส ๑ อติวิเสส ๑.
|
|
08,0005,017,ปกตินั้น ได้แก่คำคุณที่แสดงลักษณะสามัญ คือเป็นลักษณะ
|
|
08,0005,018,ธรรมดา ไม่ยิ่งไม่หย่อน ไม่ถึงกับเป็นชั้นยอดเยี่ยม ไม่มีอุปสัคและ
|
|
08,0005,019,ปัจจัยเพิ่มข้างหน้าหรือข้างหลัง เช่น <B>ปณฺฑิโต</B> เป็นบัณฑิต <B>ปญฺวา</B>
|
|
08,0005,020,มีปัญญา เป็นต้น.
|
|
08,0005,021,"วิเสสนั้น ได้แกคุณนามที่เป็นชั้นปกตินั้นเอง แต่มีคำว่า ""ยิ่ง"""
|
|
|