buddhist-theology / 08 /080001.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
08,0001,001,อธิบายนามตอนต้น
08,0001,002,พระมหาบุญสงค์ อตฺตคุตฺโต ป.ธ. ๖ วัดราชาธิวาส
08,0001,003,เรียบเรียง
08,0001,004,บรรดาสภาพทั้งมวล ทั้งที่มีวิญญาณและหาวิญญาณมิได้ ซึ่งได้
08,0001,005,อุบัติขึ้นมาในโลก จะเป็นคน สัตว์ ภูเขา ต้นไม้ อย่างใดอย่างหนึ่ง
08,0001,006,ก็ดี เมื่อยังไม่มีใครสมมติเรียกชื่อว่าอย่างหนึ่งอย่างนี้ สักแต่ว่ามีอยู่เท่านั้น
08,0001,007,ก็ยังไม่ทราบละเอียดว่าคนหรือสัตว์เป็นต้น อีกนัยหนึ่ง สิ่งที่น้อมไปในคำ
08,0001,008,พูดของภาษาต่าง ๆ คืออาจเรียกรู้เข้าใจกันได้ตามความประสงค์ เรียกว่า
08,0001,009,"""นาม"" แปลว่า ""ชื่อ"" หรือหมายความว่ามีอาการน้อมไปในคำพูดของ"
08,0001,010,ภาษานั้น ๆ ตามแต่จะสมมติขึ้น.
08,0001,011,ศัพท์
08,0001,012,สำเนียงก็ดี อักษรที่ใช่แทนสำเนียงก็ดี ซึ่งปรากฏเป็นถ้อยคำได้
08,0001,013,เช่น <B>ปุตฺโต</B> บุตร <B>ปญฺวา</B> มีปัญญา <B>ทกฺโข</B> ขยัน เหล่านี้เป็นต้น
08,0001,014,"เรียกว่า ""ศัพท์"" ถ้าสำเนียงชนิดใดไม่ใช่ถ้อยคำ คือเป็นสำเนียงที่ไม่"
08,0001,015,เป็นภาษา ดังคำว่า <B>ปุ. ภิ. อู. หํ.</B> เหล่านี้ และคำที่เป็นกิริยาหรือ
08,0001,016,แม้อย่างอื่น ๆ คำชนิดนั้นไม่เรียกว่าศัพท์. คำพูดในภาษามคธแบ่งออก
08,0001,017,"เป็น ๒ ประเภท คือ สัญชาติศัพท์หรือชาติศัพท์อย่าง ๑, สัญญัติศัพท์"
08,0001,018,อย่าง ๑. คำพูดดั้งเดิมอันค้นหามูลมิได้ว่าเนื่องมาจากธาตุอะไร หรือ
08,0001,019,ปรุงขึ้นจากธาตุอะไร เป็นวาจาที่ใช้พูดกันมาแต่โบราณ เหมือนคำว่า
08,0001,020,<B>กํ. น้ำ. ขํ. ฟ้า. กุ.</B> คำพูด เป็นต้น เรียกสัญชาติศัพท์หรือชาติศัพท์.