|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
07,reface,001,คำชี้แจง
|
|
07,reface,002,ในคราวทำคำอธิบายบาลีไวยากรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๑ ข้าพเจ้า
|
|
07,reface,003,รับภาระแต่งอภิบายสมัญญาภิธานและสนธิ ตามที่ปรากฏในหนังสือ
|
|
07,reface,004,เล่มนี้.
|
|
07,reface,005,สมัญญาภิธานนั้น มีทั้งความรู้เบื้องต้นและเบื้องปลายรวมกัน
|
|
07,reface,006,คือถ้าต้องการรู้เพียงว่า ในภาษาบาลีมีอักษรเท่าไร ออกเสียง
|
|
07,reface,007,อย่างไร ก็ไม่ยาก แต่ถ้าจะรู้ให้ตลอดถึงฐานกรณ์ และที่มาของ
|
|
07,reface,008,เสียงและอักษร ก็นับว่าเป็นความรู้เบื้องปลาย การศึกษาให้รู้จัก
|
|
07,reface,009,สมัญญาภิธานดี จะเป็นอุปการะในการออกเสียงและการเขียนสะกด
|
|
07,reface,010,(สังโยค).
|
|
07,reface,011,สนธิ คือต่อคำศัพท์ เป็นวิธีนิยมในภาษาบาลีอย่างหนึ่ง เช่น
|
|
07,reface,012,คำปกติ จิรํ อาคโต อสิ ถ้าพูดเป็นสนธิว่า จิรมาคโตสิ ดังนี้
|
|
07,reface,013,คำสนธิฟังไพเราะกว่าปกติ แต่ผู้ศึกษาต้องรู้จักวิธีต่อ วิธีแยก และ
|
|
07,reface,014,ความนิยมใช้ ฉะนั้น จึงต้องเข้าใจวิธีสนธิให้แจ้งชัด.
|
|
07,reface,015,ข้าพเจ้าเขียนคำอธิบายหนังสือนี้ เพื่อต้องการช่วยการศึกษา
|
|
07,reface,016,ดังกล่าว ได้พิมพ์ ๒ คราวหมดไปแล้ว จึงให้พิมพ์ขึ้นอีกตามฉบับ
|
|
07,reface,017,เดิม.
|
|
|