buddhist-theology / 07 /070002.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
07,0002,001,และผู้ถูกทำ ตลอดถึงประพันธ์ผูกคำพูดที่แบ่งไว้ในวจีวิภาร ให้เข้า
07,0002,002,ประโยคเป็นอันเดียวกัน.
07,0002,003,๔. ฉันทลักษณะ (ฉันท+ลักษณะ) แสดงวิธีแต่งฉันท์ คือ
07,0002,004,คาถาที่เป็นวรรณพฤทธิและมาตราพฤทธิ.
07,0002,005,อักขรวิธี ภาคที่ ๑
07,0002,006,สมัญญาภิธาน
07,0002,007,เนื้อความของถ้อยคำทั้งปวง ต้องหมายรู้กันด้วยอักขระ เมื่อ
07,0002,008,อักขระวิบัติ เช่นผิดพลาดตกหล่น เนื้อความก็บกพร่อง เข้าใจได้ยาก
07,0002,009,บางทีถึงเสียความ ทำให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหรือเขาไปได้ต่าง ๆ เช่น
07,0002,010,โจร ซึ่งแปลว่า โจร แต่ผู้อื่นว่าอักขระไม่ชัด ว่าเป็น โจล ผู้ฟังอาจ
07,0002,011,เข้าใจเป็นอย่างอื่นไป เพราะ โจล เป็นชื่อของผ้าท่อนเล็กท่อนน้อย
07,0002,012,เช่น ปริกฺขารโจลํ ผ้าท่อนเล็กที่ใช้เป็นบริขารของภิกษุ ดังนี้เป็นต้น
07,0002,013,เพราะฉะนั้น ความเป็นผู้ฉลาดในอักขระ จึงเป็นอุปการะในการที่จะใช้
07,0002,014,ถ้อยคำ ให้ผู้อื่นเข้าใจตามความประสงค์ของตนได้ถูกต้อง.
07,0002,015,อักขระมี ๒ อย่าง คือ ๑. สระ คือเสียง ๒. พยัญชนะ คือ
07,0002,016,ตัวหนังสือ. สระและพยัญชนะทั้ง ๒ นั้น รวมกันเรียกว่าอักขระ.
07,0002,017,"(อักขระ ตัดหรือแยกออกเป็น อ=ขร, อ แปลว่า ไม่ ขร แปล"
07,0002,018,"ว่า สิ้น, แข็ง) โดยนัยนี้ คำว่า อักขระ ท่านจึงแปลไว้ ๒ อย่าง คือ"
07,0002,019,ไม่รู้จักสิ้น อย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็ง อย่าง ๑.
07,0002,020,ที่แปลงว่า ไม่รู้จักสิ้น นั้น เพราะสระและพยัญชนะทั้ง ๒ อย่างนั้น