buddhist-theology / 05 /050247.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
05,0247,001,(๑๖๖) นิบาตหมวดที่ ๕ เป็นบท มีชื่อดังนี้ :-
05,0247,002,๑. นิบาตบอกอาลปนะทั้งปวง เรียกชื่อว่า อาลปนํ.
05,0247,003,๒. นิบาตบอกกาลทั้งปวง เรียกชื่อว่า กาลสตฺตมี.
05,0247,004,๓. นิบาตบอกที่ทั้งปวง เรียกชื่อว่า อาธาโร.
05,0247,005,"๔. นิบาติบอกเขตแดน, ประการเป็นต้น ซึ่งเป็นคุณของกิริยา"
05,0247,006,เรียกว่า กิริยาวิเสสนํ.
05,0247,007,วิธีสัมพันธ์
05,0247,008,(๑๖๗) บททั้งหลายในพากยางค์ก็ดี ในพากย์ก็ดี ย่อมมีความ
05,0247,009,เนื่องถึงกันสิ้น. การเรียนให้รู้จักว่า บทไหนเนื่องกับบทไหน เรียก
05,0247,010,ว่าเรียนสัมพันธ์. การแสดงวิธีสัมพันธ์นั้น มีใจความสำคัญอยู่ก็
05,0247,011,เพียงให้รู้จักการเนื่องกันของบทเหล่านั้นอย่างเดียว จะรู้จักชื่อสังเขป
05,0247,012,หรือพิสดารไม่เป็นประมาณนัก แม้ในคัมภีร์โยชนาพระวินัยและพระ
05,0247,013,อภิธรรมก็ใช้บอกชื่ออย่างสังเขป ในที่นี้จะดำเนินตามอย่างนั้นบ้าง.
05,0247,014,(๑๖๘) จะเก็บเอาข้อความบางเรื่องมาตั้งและแสดงสัมพันธ์เป็น
05,0247,015,ภาษาไทยบ้าง เป็นภาษามคธบ้าง ไปตามลำดับ ดังนี้:
05,0247,016,(๑๖๙) ตสฺมึ สมเย เอโก ปิณฺฑจาริกตฺเถโร ฯ เป ฯ มยฺหํ
05,0247,017,โทสํ โสธาเปถาติ. (ธมฺมปทฏฺ€กถา ภาค ๓ เรื่องที่ ๔๐)