|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0246,001,ข. ถ้ามีความเนื่องด้วยบทนาม เรียกชื่อว่า สรุป อุ. มโน
|
|
05,0246,002,ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา ฯ เป ฯ จกฺกํว วหโต <B>ปทนฺติ</B> อยํ <B>คาถา</B>
|
|
05,0246,003,กตฺถ ภาสิตา ?
|
|
05,0246,004,ค. ถ้าอมความย่อไว้ไม่หมด เรียกชื่อว่า อาทยตฺโถ. อุ.
|
|
05,0246,005,ธมฺมํ โว ภิกฺขเว เทเสสฺสามิ อาทิกลฺยาณนฺติ อยํ <B>เทสนาธมฺโม</B>
|
|
05,0246,006,นาม. ได้ชื่ออย่างนี้ เพราะชักเอามาไม่หมด ยังมี มชฺเฌกลฺยาณํ
|
|
05,0246,007,ปริโยสานกลฺยาณํ อีก. อนึ่ง พึงรู้จักอุทาหรณ์ในต้นเรื่องแห่งธัมม-
|
|
05,0246,008,ปทัฏฐกถาทั้งปวง มี มโนปุพฺพงฺคมาติ อิมํ ธมฺมเทสนํ เป็นต้น.
|
|
05,0246,009,ฆ. ถ้าวางไว้พอเป็นตัวอย่าง เรียกชื่อว่า นิทสฺสนํ อุ. <B>อิติปิ</B>
|
|
05,0246,010,"โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. <B>อิติ</B> รูปํ, <B>อิติ</B> รูปสฺส สมุทโย,"
|
|
05,0246,011,<B>อิติ</B> รูปสฺส อฏิงฺคโม.
|
|
05,0246,012,ง. ถ้าเป็นเหตุ เรียกชื่อว่า เหตฺวตฺโถ. อุ. ทุสฺสติ เตนาติ โทโส.
|
|
05,0246,013,จ. ถ้าเป็นประการะ เรียกชื่อว่า ปกาโร. อุ. <B>อิติ</B> ยนฺตํ วุตฺตํ.
|
|
05,0246,014,อิทเมตํ ปฏิจฺจ วุตฺตํ.
|
|
05,0246,015,ฉ. ถ้ามีในที่สุดความ เรียกชื่อว่า สมาปนฺโน บ้าง ปริสมา-
|
|
05,0246,016,ปนฺโน บ้าง. อุ. เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ <B>ปาปุณึสูติ.</B>
|
|
05,0246,017,ช. ใช้บอกชื่อก็ได้ เรียก สญฺาโชตโก. อุ. สินฺธวาติ สินฺธว-
|
|
05,0246,018,รฏฺเ ชาตา (อสฺสา) ความเท่ากับพากย์ว่า สินฺธวรฏฺเ ชาตา
|
|
05,0246,019,(อสฺสา) สินฺธวา นาม.
|
|
|