|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0242,001,สัมปฏิจฉนัตถนิบาต
|
|
05,0242,002,๓. นิบาตนี้ใช้รับคำถาม เรียกชื่อว่า สมฺปฏิจฺฉนตฺโถ. นิบาต
|
|
05,0242,003,"นี้ใช้ อาม เป็นพื้น, ใช้ อามนฺตา แต่ในพระอภิธรรม, ตรง"
|
|
05,0242,004,"นิบาตไทยว่า ขอรับ, จ้ะ, เออ, เป็นต้น ตามคำสูง คำเสมอ"
|
|
05,0242,005,คำต่ำ. อุ. ปสฺสถ ภนฺเต ? <B>อาม</B> อาวุโส ปสฺสามิ. เย เกจิ
|
|
05,0242,006,"กุสลา ธมฺมา, สพฺเพเต กุสลา ? <B>อามนฺตา.</B> ใช้ เอวํ บ้าง ก็มี"
|
|
05,0242,007,อุ. <B>เอวํ</B> ภนฺเต.
|
|
05,0242,008,อุยโยชนัตถนิบาต
|
|
05,0242,009,"๔. นิบาตที่ใช้ในคำยอม, คำเตือน, คำชักชวน, คำใช้ให้ทำ."
|
|
05,0242,010,"เรียกชื่อว่า อุยฺโยชนตฺโถ, ตรงต่อนิบาตไทยว่า เชิญเถิด, เอาเถิด,"
|
|
05,0242,011,"เอาสิ, ถ้าอย่างนั้น. นิบาตพวกนี้ ๔ ศัพท์ คือ อิงฺฆ, ตคฺฆ, หนฺท,"
|
|
05,0242,012,เตนหิ. (ศัพท์หลังนี้ เรียกว่า วิภตฺติปฏิรูปโก เพราะมีรูปแม้นศัพท์
|
|
05,0242,013,ที่ประกอบด้วยวิภัตตินาม.) อุ. <B>อิงฺฆ</B> ภนฺเต สราเปหิ. <B>ตคฺฆ</B> ตฺวํ
|
|
05,0242,014,อาวุโส อจฺจโย อจฺจคมา. <B>หนฺท</B> มยํ อาวุโส ธมฺมญฺจ วินยญฺจ
|
|
05,0242,015,สงฺคาเยยฺยาม. เตนหิ เถโร ภิกฺขู อุจฺจินตุ.
|
|
05,0242,016,อัจฉริยัตถ และ สังเวคัตถนิบาต
|
|
05,0242,017,๕. นิบาตที่ใช้ในคำแสดงความหลากใจ เบิกบานใจ เรียกชื่อ
|
|
05,0242,018,"ว่า อจฺฉริยตฺโถ, ตรงต่ออนิบาตไทยว่า โอ๊ะ ซึ่งใช้ต้นคำพูด,"
|
|
05,0242,019,หนอ ใช้ข้างท้าย ใช้ในคำแสดงความสลดใจ กรอมใจ เรียกชื่อ
|
|
|