|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0239,001,"ปาปานิ กมฺมานิ กรํ พาโล น พุชฺฌติ, เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ "
|
|
05,0239,002,"อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ. ในอรรถนี้ ใช้ อปฺเปวนาม, ยนฺนูน ที่ตรง "
|
|
05,0239,003,"ต่อนิบาตไทยว่า ถ้าไฉน, ถ้าอย่างไร, บ้าง; อุ. <B>อปฺเปวนาม</B> มยมฺปิ"
|
|
05,0239,004,อายสฺมนฺตานํ กิญฺจิมตฺตํ อนุปฺปทชฺเชยฺยาม. <B>ยนฺนูน</B> มยมฺปิ เยน
|
|
05,0239,005,ภควา เตนุปสงฺกเมยฺยาม.
|
|
05,0239,006,อนุคคหัตถ และ อรุจิสูจนัตถนิบาต
|
|
05,0239,007,"๖. ในความ ๒ ข้อ ข้อต้นพูดคล้อยตาม เรียกว่า อนุคฺคโห,"
|
|
05,0239,008,"ข้อหลังพูดแสดงความไม่เห็นด้วย เรียกว่า อรุจิสูจโน, ในอนุคคหะ"
|
|
05,0239,009,"ใช้นิบาต ๓ ศัพท์ คือ กิญฺจปิ, ยทิปิ, กามํ หรือ กามญฺจ,"
|
|
05,0239,010,"เรียกชื่อว่า อนุคฺคหตฺโถ; ตรงต่อนิบาตไทยว่า ถึง, ซึ่งใช้หน้า"
|
|
05,0239,011,"คำพูด, แม้น้อยหนึ่ง, ซึ่งใช้หลังคำพูด, ในอรุจิสูจนะใช้นิบาต ๓"
|
|
05,0239,012,"ศัพท์ คือ ตถาปิ, ปน, อถโข เรียกชื่อว่า อรุจิสูจนตฺโถ;"
|
|
05,0239,013,"ตรงต่อนิบาตไทยว่า แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, ซึ่งใช้หน้าคำพูด."
|
|
05,0239,014,"อุ. <B>กิญฺจาปิ</B> ปญฺจ กามคุณา กาทาจิ สุขํ อุปฺปาเทนฺติ,"
|
|
05,0239,015,<B>ตถาปิ</B> วิปริณามญฺถาภาวา ทุกฺขาการณํเยวาติ ทฏฺพฺพา. ยทิปิ
|
|
05,0239,016,"อาจริโย สิสฺเส ตาเฬติ, เตสุ <B>ปน</B> อนุกมฺปํ กโรติ: กามญฺจ"
|
|
05,0239,017,"ธนํ อิจฺฉิติจฺฉิตํ นิปฺผาเทติ, <B>อถโข</B> ปญฺาว เสฏฺา ตสฺส"
|
|
05,0239,018,อุปฺปาทปจฺจยตฺตา.
|
|
|