buddhist-theology / 05 /050234.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
05,0234,001,พยติเรกโชตกนิบาต
05,0234,002,"๑๐. ถ้าความท่อนต้นกล่าวอนุโลม คือไม่มีปฏิเสธห้าม, ความ"
05,0234,003,"ท่อนหลังกล่าวมีปฏิเสธห้าม แต่คล้อยตามกัน, นิบาตในความท่อนหลัง"
05,0234,004,เรียกว่า พฺยติเรกโชตโก. ในอรรถนี้ ใช้นิบาติ ๓ ศัพท์นั้นเหมือน
05,0234,005,"อันวยโชตก, ตรงความไทยว่า อัน, มีอุทาหรณ์ดังนี้: รตนตฺตยํ"
05,0234,006,นาม วนฺทนียํ ตํ วนฺทโต สกลภยาทิอุปทฺทวนิวารณสมตฺถตฺตา.
05,0234,007,น หิ ตํ €เปตฺวา อฺา สตฺตานํ ปฏิสรณํ อตฺถิ. (ฎีกาคันถัฏฐิ)
05,0234,008,<B>หิ</B> ในความท่อนหลัง เรียก พฺยติเรกโชตโก. อุทาหรณ์ผูกไว้เป็น
05,0234,009,แบบเทียบดังนี้: ปญฺา ว เสฏฺ€า สีลาทโย <B>จ</B> ตสฺส กลํ น
05,0234,010,อุเปนฺติ.
05,0234,011,สัมภาวนโชตกนิบาต
05,0234,012,"๑๑. ความท่อนต้นกล่าวติ. ความท่อนหลังกล่าวชม, นิบาต"
05,0234,013,ในความท่อนหลัง เรียกชื่อว่า สมฺภาวนโชตโก. ในอรรถนี้ใช้นิบาต
05,0234,014,"คือ ปน ศัพท์เดียว, ตรงความไทยว่า ถึงอย่างนั้น, แต่ ก็แต่ว่า;"
05,0234,015,มีอุทาหรณ์ดังนี้: อสนฺธิทมฺปิ (ปฏิสนฺธึ ทาตุํ อสกฺโกนฺตมฺปิ)
05,0234,016,อุทธจฺจํ ชนกสตฺติยา (ปวตฺติยํ วิปากํ ชเนตุํ สมตฺถตาย) <B>ปน</B>
05,0234,017,วิปากธมฺมเมตํ. (คันถากรณ.) ความท่อนต้นกล่าวติ อุทธัจจะ ว่า
05,0234,018,"ไม่อาจให้ปฏิสนธิ, ความท่อนหลังชมว่า ให้วิบากได้; ปน ใน"
05,0234,019,ความท่อนหลัง เรียก สมฺภาวนโชตโก เพราะส่องความสรรเสริญ.