|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0231,001,"ให้ชัด, อุทาหรณ์เป็นตัวอย่างดังนี้: ยถา ปน ตานิ เขฬาทีนิ อสุจีนิ"
|
|
05,0231,002,วิปฺปสนฺเนน อุทเกน โธวิยมานานิ วินสฺสนฺติ----เอวเมว อเวเรน----
|
|
05,0231,003,เวรานิ วูปสมฺสมนฺติ. (ธมฺมปทฏฺกถา ภาคที่ ๑ เรื่องที่ ๔)
|
|
05,0231,004,ทัฬหีกรณโชตกนิบาต
|
|
05,0231,005,๗. ความท่อนต้น ควรอ้างเอาคำอื่นมาเป็นเครื่องสาธกหรือ
|
|
05,0231,006,รับรองให้มั่นขึ้น เรียกว่า ทฬฺหิยํ. ทัฬหิยะนั้น จัดเป็น ๒ อย่าง
|
|
05,0231,007,คือ ควรอ้างคำในคัมภีร์ที่ท่านเก่า ๆ กล่าวไว้ เช่นพุทธภาษิต เรียก
|
|
05,0231,008,อาคมทฬฺหิยํ อย่างหนึ่ง ควรอ้างคำที่กล่าวเอง แต่สมแก่คำต้น เรียก
|
|
05,0231,009,ยุตฺติทฬฺหิยํ อย่างหนึ่ง. ความท่อนหลังซึ่งนำมาเป็นเครื่องสาธกหรือ
|
|
05,0231,010,รับรองให้มั่นขึ้น เรียก ทฬฺหีกรณํ ทัฬหีกรณะนั้น ก็จัดเป็น ๒ อย่าง
|
|
05,0231,011,ตามประเภทแห่งทัฬหิยะฉะนั้น. นิบาตในท่อนหลัง เรียก ทฬฺหิกรณ-
|
|
05,0231,012,"โชตโก. ในอรรถนี้ใช้นิบาตแต่ ๒ ศัพท์ คือ หิ กับ จ, ตรงความ"
|
|
05,0231,013,"ไทยว่า จริงอยู่, แท้จริง; อุทาหรณ์ในอาคมทัฬหีกรณะพึงรู้ในคำว่า"
|
|
05,0231,014,วุตฺตญฺ<B>เหตํ</B> ภควตา; วุตฺตมฺปิ <B>เจตํ </B>ภควตา เป็นต้น. อุทาหรณ์
|
|
05,0231,015,ในยุตติทัฬหีกรณะว่า พุทฺธาทิ (รตนตฺตยํ) วนฺทเนยฺยํ ว. น <B>หิ</B>
|
|
05,0231,016,"ตํ วินา อญฺํ อตฺถิ. (คันถากรณนัย.) หิ, จ, ในอุทาหรณ์นั้น"
|
|
05,0231,017,เรียก ทฬฺหีกรณโชตโก เพราะส่องความเครื่องทำคำก่อนให้มั่น
|
|
05,0231,018,อุทาหรณ์เป็นแบบเทียบอาคมทัฬหีกรณะดังนี้: ปุตฺโต มาตาปิตเรสุ
|
|
05,0231,019,สมฺมา ปฏิปชฺชนฺโต เตสํ สนฺติกา สงฺคหํ ลภติ. วุตฺตญฺ<B>เจตํ</B>
|
|
|