buddhist-theology / 05 /050229.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
05,0229,001,ผลโชตกนิบาต
05,0229,002,๔. ถ้าความท่อนต้นกล่าวเหตุ ซึ่งน่าชวนให้ถามถึงผลว่า ข้อนั้น
05,0229,003,"จะให้ผลอย่างไร, จึงกล่าวผลเสียในความท่อนหลังทีเดียว ไม่"
05,0229,004,ต้องให้ถาม; นิบาตซึ่งเป็นเครื่องหมายความข้อนี้ในท่อนหลัง เรียก
05,0229,005,ชื่อว่า ผลโชตโก หรือเรียกให้สั้นว่า ผลํ. แม้ในอรรถนี้ก็ใช้
05,0229,006,"นิบาต ๓ ศัพท์นั้น, ตรงความไทยว่า ด้วยว่า, มีอุทาหรณ์ดังนี้:"
05,0229,007,ทานํ ทาตพฺพเมว. ทายญฺหิ โภคสมฺปทํ อาวหติ. (คันถาภรณ.)
05,0229,008,"ความท่อนต้น น่าชวนให้ถามว่า ให้ทานมีผลอะไร, จึงอธิบายผล"
05,0229,009,"แห่งทานนั้น ในท่อนหลังว่านำโภคสมบัติมา, เหตุนั้นความท่อนต้น"
05,0229,010,"จึงชื่อว่าเป็นเหตุ, ความท่อนหลังชื่อว่าเป็นผลฉะนี้; หิ ในท่อนหลัง"
05,0229,011,นั้นเรียก ผลโชตโก เพราะส่องความที่เป็นผล อุทาหรณ์ผูกไว้เป็น
05,0229,012,ตัวอย่างดังนี้: ปญฺา นาม อิจฺฉิตพฺพา. ตาย <B>จ</B> สุขุมมฺปิ อตฺถํ
05,0229,013,วิจาเรติ.
05,0229,014,วิเสสโชตกนิบาต
05,0229,015,๕. ถ้าความท่อนต้นกล่าว ลักษณะแห่งคน หรือของอะไร ๆ โดย
05,0229,016,"อาการเสมอกัน ไม่ได้วินิจฉัยว่า วิเศษกว่ากันอย่างไร, ความท่อนหลัง"
05,0229,017,วินิจฉัยวิเศษออกไป นิบาตซึ่งเป็นเครื่องหมายความข้อนี้ในท่อนหลัง
05,0229,018,เรียกชื่อว่า วิเสสโชตโก หรือเรียกให้สั้นว่า วิเสโส. แม้ในอรรถนี้
05,0229,019,"ก็ใช้นิบาต ๓ ศัพท์นั้น, ตรงความไทยว่า แต่, ก็แต่ว่า, ถึง"